Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กรุณ , then กรณ, กรุณ, กรุณะ, กรุณา, กรูณ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กรุณ, 90 found, display 1-50
  1. กรุณ : (ปุ.) กรุณะ (ความเอ็นดู) ชื่อนาฏยรส อย่างที่ ๒ ใน ๙ อย่าง. กรฺ กรเณ, อุโณ.
  2. กรุณ : ก. วิ. อย่างน่าเอ็นดู, น่ากรุณ
  3. กรุณ : (อิต.) ความหวั่นใจ, ความหวั่นใจใน เมื่อผู้อื่นมีทุกข์, ความสงสาร, ความสงสาร คิดจะช่วยให้เขาพ้นทุกข์, ความเอ็นดู, ความปราณี, ความอนุเคราะห์, ความกรุณา, กรุณา. วิ. ปรทุกฺเข สติ สาธูนํ หทยกมฺปนํ กโรตีติ กรุณา. กรฺ กรเณ, อุโณ, กุโน วา, กโลโป, นสฺส ณตฺตํ. กํ สุขํ รุนฺธตีติ วา กรุณา. กปุพฺโพ, รุธิ อาวร เณ, อุโณ, ธิโลโป. กิรตีติ วา กรุณา. กิรฺ วิกฺขิปเน, อุโณ. กิณาตีติ วา กรุณา. กิ หึสายํ, รุโณ. กิรียตีติ วา กรุณา. กิรฺปสาร เณ, ยุ. กมฺปนํ กโรตีติ วา กรุณา. กรฺ กรเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อณ รฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ อาอิต. ส. กรูณ.
  4. นิกฺกรุณ : ค. ปราศจากความกรุณา, ไม่มีความเอ็นดู
  5. นิกฺกรุณตา : อิต. ความเป็นผู้ปราศจากความกรุณา, ความไม่มีความเอ็นดู
  6. กรณ : (วิ.) (วตฺถุ) เป็นเครื่องทำ, (อวยว) เป็นเครื่องทำเสียงให้เกิด. วิ. กโรติ เตนา ติ กรณํ. กรียเต เตนาติ วา กรณํ. เป็นที่ทำ วิ. กโรนฺติ เอตฺถาติ กรโณ. กรฺ กรเณ, ยุ.
  7. นิกฺกรุณ : อิต. ดู นิกฺกรุณตา
  8. ทฬฺหึกมฺม, - กรณ : นป. การกระทำให้มั่น, การทำให้มั่นคงแข็งแรง
  9. อาโลกกร, - กรณ : ค., นป. ทำแสงสว่าง, ผู้นำแสงสว่างมา
  10. กรณการก : (ปุ.) กรณการก ชื่อของบทนาม นามที่ประกอบด้วยตติยาวิภัติ
  11. กรณวิภตฺติ : อิต. กรณการก, ตติยาวิภัตติ
  12. กรุณาคุณช : ค. อันเกิดจากคุณแห่งความกรุณ
  13. กรุณาชล : นป. น้ำแห่งความกรุณา, สาย (ฝน) แห่งความเอ็นดู
  14. กรุณาฌาน : นป. การเพ่งอันเกี่ยวกับความกรุณ
  15. กรุณาธิมุตฺต : นป. ความมุ่งในความกรุณาหรือความเอ็นดู, ความน้อมไปในความกรุณ
  16. กรุณานุวตฺตี : ค. อันอนุวัตตามกรุณา, เป็นไปตามความเอ็นดู
  17. กรุณาปร : ค. ผู้มีความกรุณาสูง, ผู้มีความกรุณาเป็นเบื้องหน้า
  18. กรุณาภาวนา : อิต. กรุณาภาวนา, การเจริญหรือก่อให้เกิดความกรุณ
  19. กรุณายติ : ก. กรุณา, เอ็นดู
  20. กรุณายน : อิต. ความกรุณา, ความเอ็นดู
  21. กรุณารส : ป. รสแห่งความกรุณ
  22. กรุณาวิหาร : ค. มีจิตอยู่ด้วยความกรุณา, จิตประกอบด้วยความเอ็นดู
  23. กรุณาเวคสมุสฺสาหิตมานาส : (วิ.) ผู้มีฉันทะ มีในใจอันกำลังแห่งกรุณาอันให้อุตสาหะ พร้อมแล้ว. เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ส ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ฉ. ตัป. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  24. กรณภาว : (ปุ.) ความเป็นคืออันทำ, ฯลฯ.
  25. พฺยนฺตีกรณ : (นปุ.) การทำให้สิ้นสุด. พฺยนฺต+กรณ อี อาคม หรือแปลง อ ที่ ต เป็น อี.
  26. ทยติ : ๑. ก. บิน; ๒. ค. เอ็นดู, สงสาร, กรุณ
  27. อลงฺกรณ : (นปุ.) การประดับ, การตกแต่ง, การประดับประดา, เครื่องตกแต่ง, เครื่องประดับ, เครื่องตบแต่ง, เครื่องอาภรณ์.อลํปุพฺ-โพ, กรฺกรเณ, ยุ.ส.อลงฺกรณ.
  28. กรณี : (อิต.) คดี, เรื่อง, เรื่องเดิม, มูล, เหตุ. ส. กรณี.
  29. กริณี : (อิต.) ช้างพัง, ช้างตัวเมีย, นางช้าง, กริณี, กรินี, กิริณี, กิรินี.
  30. กเรณุ : (ปุ.) สัตว์มีงวง, ช้างพลาย, ช้างสาร. กร+อิณุปัจ. ส. กเรณุ, กรรณู.
  31. กเรณุ, - ณุกา : อิต. ช้างพัง, ช้างตัวเมีย
  32. กลฺยาณวากฺกรณ : ค. มีวาจาอันไพเราะน่ายินดี
  33. กสิกรณ : นป. การไถนา, การทำนา
  34. กามาธิกรณ : ค. ผู้มีความใคร่เป็นเหตุให้เกิดเรื่อง
  35. กิจฺจาธิกรณ : นป. กิจจาธิกรณ์, กิจที่สงฆ์พึงทำในที่ประชุมสงฆ์
  36. กิรณ : (ปุ.) รัศมี, แสง. วิ. กิรติ ติมิรนฺติ กิรโณ. กิรฺ วิกฺเขเป, กิรติ ปตฺถรตีติ วา กิร โณ. กิรฺ ปสารเณ. อภิฯ ลง อน ปัจ. แปลง น เป็น ณ รูปฯ ลง ยุ ปัจ.
  37. กิริณี : (อิต.) ช้างพัง, ช้างตัวเมีย, นางช้าง. กรี+อินี แปลง อ เป็น อิ.
  38. กุสลกมฺมปติฏฐากรณกาล : (ปุ.) กาลเป็นที่ทำ ซึ่งที่พึ่งคือกรรมอันเป็นกุศล. เป็น วิเสสนปุพ. กัม. มี วิเสสนบุพ. กัม. อวกัม. และ ทุ. ตัป. เป็นท้อง.
  39. คพฺภกรณ : นป. การตั้งครรภ์
  40. คุฬกรณ : นป. การทำน้ำอ้อยงบ, โรงงานน้ำตาล
  41. จกฺขุกรณ, - กรณี : ค. ซึ่งกระทำปัญญาจักษุ, ผู้ทำให้เกิดปัญญาจักษุ, ผู้ทำให้เกิดความเห็นชัดด้วยใจ
  42. ญาณกรณ, - ณี : ค. อันทำให้เข้าใจแจ่มแจ้ง, อันทำให้รู้แจ้ง
  43. ฐานกรณ : (นปุ.) ที่ตั้งและวัตถุเป็นเครื่องทำ (ให้เกิดเสียงในการพูด).
  44. ตนุกรณ : (นปุ.) การถาก, การทำให้บาง, การ ไส. ตนุปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, ยุ.
  45. ทฬฺหีกรณ : (นปุ.) การทำให้มั่น, การทำให้ มั่นคง, การทำการงานให้มั่น, การทำ การงานให้เต็มมือ.
  46. ธญฺญกรณ : (นปุ.) ลานนวดข้าว, ลานข้าว. วิ. ธญฺญานิ กโรนฺติ มทฺทนุติ อสฺมินฺติ ธญฺญกรณํ.
  47. นงฺคลกฏฺฐกรณ : นป. การไถนา
  48. นิพฺพาณสจฺฉิกรณ นิพฺพานสจฺฉิกรณ : (นปุ.) การทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน,การทำให้แจ้งพระนิพพาน,การทำพระนิพพานให้แจ้ง.
  49. ปโยคกรณ : นป. การกระทำความเพียร, การกระทำความมุ่งมั่นบากบั่น, การประกอบกิจ
  50. ปาตุกรณ : นป. การกระทำให้ปรากฏ, การทำให้เกิดขึ้น
  51. [1-50] | 51-90

(0.0482 sec)