ปฏิ : อ. เฉพาะ, ตอบ, ทวน, กลับ
ปติ : ๑. ป. ผัว, นาย, เจ้าของ;
๒. ค. เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นนาย, เป็นหัวหน้า ;
๓. อ. จาก ปฏิ ตอบ; ห้าม; ทวน; มั่น; หยุด ; เหมือน; ที่ตั้ง; ต่อหน้า; รู้ตลอด; กลับ, ทำอีก; เนืองๆ ; สรรเสริญ; เหตุ; ลักษณะ
อป : (อัพ. อุปสรรค)ปราศ, ปราศจาก, ไปจาก, หนี, หลีก, ไกล, พ้น, ไร้, กลับ, ลง, นินทา.ส.อป.
อา : (อัพ. อุปสรรค)ต้อง, ทั่ว, ถึง, พอถึง, จดถึงอุ. อา ปพฺพตา เขตฺตํ.ยิ่ง, ใกล้, มาใกล้, จนถึง, โดยยิ่ง, โดยรอบ, ก่อน, ออก, บน, ปรารถนา, ผูก, จาก, อยู่, เรียก, ถือ, ยาก, น้อย, กลับ, ไม่เลื่อมใส, รบ, ที่อาศัย, รวบรวม, ประมวลมา, เสมอ ๆ, อัศจรรย์, กลับความคือเมื่อนำธาตุแล้วจะกลับความเดิมของธาตุ.
อาวชติ : ก. เคลื่อนที่, ดำเนินไป, กลับ, ถอยคืน
ชลนยน ชลเนตฺต : (นปุ.) น้ำแห่งตา, น้ำตา, ชลนัยน์ ชลนา ชลเนตร (น้ำตา). นยน + ชล, เนตฺต+ชล. เป็น ส.ตัป กลับ บทหน้า ไว้หลัง เมื่อเป็นบทปลง.
ทารุหฬิทฺทา : (อิต.) ไม้เหลือง, ขมิ้น. วิ. หฬิทฺทวณฺณทารุตาย ทารุหฬิทฺทา. กลับ บทหน้าไว้หลัง. เป็น ทารุหลิทฺทาบ้าง.
ปจฺเจติ : ก. กลับ
อุปนิวตฺตติ : ก. กลับ
ปฏิจรติ : ก. เที่ยวไป, ท่องเที่ยว, เกี่ยวข้อง; กลบเกลื่อน, ทำให้สับสน, พูดวกวน, พูดกลับไปกลับมา, ทำ (ปัญหา) ให้คลุมเครือ
กตปุพฺพ : (วิ.) อัน...ทำแล้วในกาลก่อน วิ. ปุพฺเพ กตํ กตปุพฺพํ. กลับบทหน้าไว้หลัง อัน...เคยทำแล้ว.
คตปจฺจาคต : (วิ.) ทั้งไปทั้งมา, ทั้งไปทั้งกลับมา.
จิณฺห : (นปุ.) ลักษณะ, เครื่องหมาย, เป้า, รอย, ตรา, แกงได. วิ. จิหียติ อเนนาติ จิณฺหํ. จิหฺ ลกฺขเณ, ยุ. แปลน น ซึ่งแปลง มาจาก ยุ เป็น ณ แล้วกลับอักษร ที่ไม่ กลับเป็น จิหณ ดู จิหณ.
ทฺวิสต : (นปุ.) ร้อยสอง, สองร้อย. วิ. เทฺว สตานิ ทฺวิสตํ ทฺวิสตานิ วา. หมวดสอง แห่งร้อย วิ. สตสฺส ทฺวิกํ ทฺวิสตํ. ฉ. ตัป. ลบ ก แล้ว กลับบท รูปฯ ๓๙๙.
ทุพฺภิกฺขุ : (นปุ.) ความไม่มีแห่งอาหาร, ความขัดสนอาหาร, ข้าวแพง, อาหารแพง, ข้าวยากหมากแพง. วิ. ภิกฺขสฺส อภาโว ทุพฺภิกฺขํ กลับบทหน้าไว้หลัง. เวสฯ ๑๙๘. ส. ทุรฺภิกฺษ.
ธมณฺณ : (ปุ.) คนผู้ยืม, ลูกหนี้. อิณ+ธร ลบ ร แปลง อิ เป็น อ กลับบท มฺ อาคม ซ้อน ณฺ หรือแปลง ร เป็น ม ไม่ต้องลง มฺ อาคม.
นาคาปโลกิต : นป. การเหลียวดูของช้าง (คือกลับทั้งตัว), ลักษณะอย่างหนึ่งของพระพุทธเจ้า
นิกฺกิณติ : ก. ซื้อกลับมา, ไถ่คืน
นิวตฺต : ค. ผู้กลับ, ผู้ละเลิก
นิวตฺตติ : ค. กลับ, หมด, สูญหาย
นิวตฺตน : (นปุ.) การหลับ, การหันกลับ, การหมุนกลับ. นิปุพฺโพ, วตฺต วตฺตเน, ยุ. ส. นิวรฺตฺตน.
นิวตฺตนีย : ค. ซึ่งกลับ (ใช้เฉพาะรูปปฏิเสธเท่านั้น เช่น “อนิวตฺตนีย = ซึ่งไม่กลับ”)
นิวตฺเตติ : ก. ให้กลับ, ให้หยุดอยู่เบื้องหลัง
ปจฺจาคจฺฉติ : ก. กลับมา
ปจฺจาชายติ : ก. เกิด, กลับมาเกิด
ปจฺโจโรลติ : ก. กลับลงมา
ปจฺโจสกฺกติ : ก. ล่าถอย, ถอยกลับ, ถอยออกมา
ปจฺโจสกฺกน : นป. การล่าถอย, การถอยกลับ, การถอยออกมา, การหด
ปฏิกฺกนฺต : กิต. ก้าวกลับแล้ว, ถอยกลับแล้ว, กลับมาแล้ว
ปฏิกฺกนฺตก : ค. ผู้ก้าวกลับแล้ว, ถอยกลับแล้ว, กลับมาแล้ว
ปฏิกฺกม : ป. การถอยกลับ, การกลับไป, การหลีกออกไป, การเลิกรา
ปฏิกฺกมติ : ก. ถอยกลับ, กลับมา, กลับไป, หลีกออกไป
ปฏิกสฺสติ : ก. ถอยกลับ, โยนกลับ
ปฏิกุฏติ : ก. งอ, โก่ง, บิด, หด, กระตุก; ถอยกลับ, หน่าย
ปฏิเกฬนา : อิต. การเล่นโต้กลับ, การเล่นฝ่ายตรงข้าม; การเย้ยหยันตอบ
ปฏิโกฏฺเฏติ : ก. ทำให้เบนออก, ทำให้หันกลับ, ต้อนกลับ, ทุบตีให้ผละออกมา
ปฏิติฏฺฐติ : ก. ตั้งอยู่เฉพาะ, กลับตั้งขึ้น, ตั้งขึ้นอีก
ปฏิทุกฺขาปนตา : อิต. ภาวะที่กลับทำให้เกิดมีความทุกข์ขึ้นใหม่อีก
ปฏิธาวติ : ก. วิ่งกลับไปหา, วิ่งเข้าไปใกล้
ปฏินิทฺเทส : ป. การกลับชี้แจง, การวกกลับมาอธิบายเรื่องใหม่อีก
ปฏินิวตฺตติ : ก. หวนกลับ, กลับมาอีก
ปฏิเนติ : ก. นำกลับมา, พากลับมา
ปฏิปณาเมติ : ก. ไล่กลับ, ส่งกลับ, ขับไล่, ป้องกัน
ปฏิปฺปณาเมติ : ก. เบนกลับออก, เหยียดออก
ปฏิปริวตฺเตติ : ก. แว้งกลับ, หมุนกลับ
ปฏิปวิฏฺฐ : กิต. กลับเข้าไปอีกแล้ว
ปฏิปวิสติ : ก. กลับเข้าไปอีก
ปฏิปหินาติ : ก. ส่งกลับ
ปฏิปากติก : ค. ซึ่งกลับเป็นปกติ, ซึ่งคืนตัว, ซึ่งอยู่ในสภาพปกติ
ปฏิเปเสติ : ก. ส่งกลับ, ส่งคืน, ส่งไปหา