พฺยถน : (วิ.) เป็นทุกข์, ลำบาก, รบกวน, สะดุ้ง, กลัว, ไหว, สั่น, รัว, สั่นรัว.
ภย : (วิ.) สะดุ้ง, กลัว, หวาด, เป็นที่กลัว.
ภิสีล : (วิ.) ขลาด, กลัว, ขี้ขลาด. วิ. ภี ภยํ สีโล ยสฺสโส ภิสีโล. เป็น ภีสีล โดยไม่รัสสะบ้าง.
อุสฺสงฺกี : (วิ.) หวาด, หวาดเสียว, สะดุ้ง, กลัว, ตกใจ. อุปุพฺโพ, สกิ สงฺกายํ, อี.
ภายติ : ก. กลัว
อุตฺราสิ อุตฺตราสี : (วิ.) หวาด, หวาดเสียว, สะดุ้ง, ตกใจ, กลัว.
โอตปฺป โอตฺตปฺป : (นปุ.) ความสะดุ้ง, ความเกรงความผิด (เกรง คือ กลัว), ความกลัว, ความเกรงกลัว, ความสะดุ้งกลัวต่อบาป, ความเกรงกลัวต่อบาป, ความกลัวต่อบาป, ความสะดุ้งกลัวต่อผลของความชั่ว, ความเกรงกลัวต่อผลของความชั่ว, ความกลัว บาป. วิ. โอตฺตปฺปติ ปาปโตติ โอตปฺปํ โอตฺตปฺปํ วา. อวปุพฺโพ, ตปฺ อุพฺเพเค, อ. แปลง ป เป็น ปฺป ศัพท์หลังซ้อน ตฺ.
กฏุก : ๑. นป., ป. ความเผ็ดร้อน, รสเปรี้ยว, รสขม, การบูน
๒. ค. แหลมคม, เข้มงวด, น่ากลัว, ขมขื่น, ร้ายแรง
กากภีรุ : ป. นกที่กลัวต่อกา, นกฮูก, นกเค้าแมว
ฆุรติ : ก. กลัว, น่ากลัว; ออกเสียง, ร้อง, กล่าว
โฆร : (วิ.) น่ากลัว, น่าสะพรึงกลัว, พิลึก, ไปเร็ว, ร้าย, ร้ายกาจ, ร้ายแรง, กึกก้อง, กล้า ( มาก แข็ง ), ร้อง, กล่าว. ฆรฺ ภิมตฺตสทฺเทสุ, โณ.
โฆรตร : ค. ร้ายมาก, น่ากลัวมาก
จกิต : ค. ผู้ถูกรบกวน, ผู้สะดุ้ง, ผู้กลัว
จิตฺตุตฺราส : ป. ความสะดุ้งแห่งจิต, ความหวาดกลัว
ฉมฺภติ : ก. สะดุ้ง, ตกใจกลัว
ชราภย : นป. ความกลัวแต่ความชราหรือความเสื่อมโทรม
ชาติภย : นป. ความกลัวต่อการเกิด, ความกลัวการเกิด
ตชฺเชติ : ก. คุกคาม, ข่มขู่, ด่าว่า, ทำให้กลัว
ตาสน : นป. การทำให้ตกใจกลัว, การเสียบประจาน
ตาสนิย : ค. น่ากลัว, น่าหวาดเสียว, น่าสะดุ้ง
ทณฺฑภย : นป. ภัยคืออาชญา, ความกลัวแต่การลงโทษ, การกลัวถูกลงโทษ
ทร ทรถ : (ปุ.) ความกลัว, ความเจ็บป่วย, ความกระวนกระวาย, ความเร่าร้อน, ทรฺ ภยทาเหสุ, อ, โถ. ทรสทฺโท จ ทรถสทฺโท จ กายทรเถ จิตฺตทรเถ กิเลสทรเถ จ วตฺตนฺติ. อภิฯ.
ทร, ทรถ : ป. ความเร่าร้อน, ความกระวนกระวาย, ความกังวลใจ, ความหวั่นกลัว, ความลำบาก, ความทุกข์
ทารุณ : (วิ.) หยาบ, หยาบช้า, ร้าย, ดุร้าย, โหดร้าย, น่าสะพรึงกลัว. วิ ทาเรติ วิทาเรตีติ ทารุโณ. ทรฺ วิทารเน, อุโณ, กุโน วา. ถ้าลง กุน ปัจ. สบ กฺ แปลง น เป็น ณ. ส. ทารุณ.
นาฎฺยรส : (ปุ.) นาฏยรส. นาฏยรสมี ๙ คือ ๑. สิงฺคาโร ความรัก ๒.กรุโณ ความเอ็นดู ๓. วิโร ความกล้าหาญ ๔. อพฺภูโต ความอัศจรรย์ ๕. หสฺโส ความร่าเริง ๖. ภยานโก ความกลัว ๗. สนฺโต ความละเอียด ความสงบ ๘. วิภจฺฉํ เห็นแจ้ง และ ๙. รุทฺทํ ความโกรธ.
นาฏยรส : ป. รสแห่งนาฏยะมี ๙ อย่างคือ
(๑) สิงฺคาร ความรัก
(๒) กรุณา ความเอ็นดู
(๓) วีร ความพากเพียรอาจหาญ
(๔) อพฺภูต ความอัศจรรย์
(๕) หสฺส ความร่าเริง
(๖) ภย ความกลัว
(๗) สนฺต ความสงบ
(๘) สิภจฺฉ ความเห็นแจ้ง
(๙) รุทฺธ ความโกรธ
นิทฺทร : ค. ไม่มีความกระวนกระวาย, ไม่เดือดร้อน, ไม่มีความทุกข์, ปราศจากความกลัว
นิทฺทร นิทฺทรถ : (วิ.) มีความเร่าร้อยออกแล้ว, ไม่มีความเร้าร้อย, หมดความเร่าร้อน, มี ความกระวนกระวายออกแล้ว, ฯลฯ, หมด ความเจ็บไข้, หมดความป่วยไข้, หมด ความกลัว.
นิพฺพิสงฺก : ค. ซึ่งหมดความระแวง, ไม่มีความสงสัย, ปราศจากความแคลงใจ; ซึ่งกล้าหาญ, ไม่กลัวเกรง
นิพฺภย : ค. ซึ่งไม่มีภัย, อันไม่มีความกลัว; กล้าหาญ
นิรยภย : นป. ภัยแต่นรก, ความกลัวแต่นรก
ปฏิภย : นป. ภัยเฉพาะหน้า, สิ่งที่น่ากลัว, อันตราย
ปรกฺกม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องก้าวไปยังคุณใน เบื้องหน้า, การก้าวไปสู่คุณในเบื้องหน้า, การก้าวไปข้างหน้า, ความก้าวไปข้างหน้า, ความเป็นคนกล้า, ( ไม่กลัวหนาว ฯลฯ ) , ความเพียร, ความบากบั่น, ความตะเกียกตะกาย ( พยายามทุกทางเพื่อให้ ประสบความสำเร็จ ) . วิ. ปรํ ปรํ ฐนํ อกฺกมตีติ ปรฺกกโม. ปรํ ปจฺจนึกภูตํ โกสฺชฺชํ อกฺกมตีติ วา ปรฺกกโม. ปรปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ซ้อน กฺ.
ปวฺยธิต : ค. หวั่นไหว, สั่นสะเทือน, สะดุ้งกลัว
ปาปภีรุตา : อิต. ความสะดุ้งกลัวต่อบาป
พกฺกุล : ป., นป. ปีศาจ, การเปล่งเสียงร้องอย่างน่ากลัว
พีภจฺฉ : (วิ.) น่าเกลียด, น่ากลัว, เป็นแดนกลัว, อันพึงกลัว.
พีภจฺฉทสฺสน : นป. การเห็นแจ้ง, การเห็นเป็นสิ่งน่าสยดสยองหรือน่ากลัว
ภยงฺกร : (วิ.) ทำซึ่งภัย, กระทำซึ่งภัย, น่ากลัว, น่าสพึงกลัว. ทุ. ตัป. อลุตตสมาส.
ภยงฺกร ภยานก : (นปุ.) สิ่งอันน่าสพึงกลัว. ความขลาด, ฯลฯ.
ภยนฺตราย : (ปุ.) ภัยและอันตราย, อันตราย, อันน่ากลัว, อันตรายที่น่ากลัว.
ภยาคติ : (อิต.) ความลำเอียงอันเกิดจากความกลัว, ความลำเอียงเพราะความกลัว.
ภยูปรต : (วิ.) ผู้มีความกลัวยังไม่สิ้น, ผู้ยังมีความกลัว. ภย+อุปรต.
ภายน : (นปุ.) ความสะดุ้ง, ควาหวาด, ความกลัว. ภี ภเย, ยุ.
ภิ : (นปุ.) ธรรมชาตอันบุคคลพึงกลัว, ภัย.
ภิติ ภีติ : (อิต.) ความกลัว, ฯลฯ. ติ ปัจ. ศัพท์ต้น รัสสะ อี เป็น อิ. ดู ภึสน.
ภิสน : (วิ.) น่ากลัว, น่าหวาดเสียว, น่าสะดุ้ง, น่าสพึงกลัว. ภี ภเย, ยุ. รัสสะ อี เป็น อิ นิคคหิตอาคม. และ สฺ อาคม หรือ ลง รึสน ปัจ. หรือ ภิสิ ภเย.
ภีต : กิต. กลัวแล้ว
ภีติ : อิต. ความกลัว
ภี ภีติ : (อิต.) ความกลัว, ความขลาด, ความสะดุ้ง, ความสะดุ้งจิต. ภี ภเย, อ, ติ.