ปญฺจกามคุณ : ป. กามคุณห้า (รูป, เสียง, กลิ่น, รส, สัมผัส)
กามคุณ : (ปุ.) ชั้นของกาม, ส่วนอันเป็นกาม, ส่วนที่ปรารถนา, กามคุณ ได้แก่รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ อันพึงใจ.
ฆายติ : ก. ดม; สูด (กลิ่น)
นาล : (ปุ.) กลิ่น. นลฺ คนฺเธ, โณ.
นิคนฺธ นิคฺคนฺธ : (วิ.) มีกลิ่นออกแล้ว, ไม่มี กลิ่น.
กงฺกา : อิต. กลิ่นหอมของดอกบัว
กงฺคุ : (อิต.) ข้าวฟ่าง, ประยงค์ ชื่อไม้พุ่มชนิด หนึ่ง ใบมีกลิ่นหอม. วิ. โสภณสีสตฺตา คมนียภาวํ คจฺฉตีติ กงฺคุ. คมฺ คติยํ, อุ. แปลง ค เป็น ก มฺ เป็น คฺ นิคคหิตอาคม. โมคคัลลายนพฤติ วิ. กามียตีติ กงฺคุ กมุ อิจฺฉายํ, อุ. เอกักขรโกสฎีกาวิ. เกน คุณาติ สททํ กโรตีติ กงฺคุ. ก ปุพฺโพ, คุ สทฺเท, อุ. ส. กงฺคุ, กงฺคุนี.
กฏุกปฺผล : ๑. นป. ผลของพืชที่มีกลิ่นหอมชนิดหนึ่ง;
๒. ค. มีผลเผ็ดร้อน
กณฺณิการ : ป. ไม้กรรณิการ์; ฝักบัว; กลิ่นบัว
กปฺปุร กปฺปูร : (ปุ. นปุ.) การบูร ชื่อต้นไม้ ชนิดหนึ่งมีกลิ่นฉุนและรสร้อน อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของตัวยาที่กลั่นมาจากต้นไม้ นั้นเป็นเกล็ดสีขาวคล้ายพิมเสน.วิ. อตฺตโน คนฺเธน อญฺญํ คนฺธํ กปตีติ กปฺปูโร. กปฺ หึสายํ, อูโร, ทฺวิตฺตํ. กปฺปติ โรคาปนเย สมตฺเถตีติ วา กปฺปูโร. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กัจฯ ๖๗๐ เวสฯ ๗๙๕ ลง อุรปัจ. อภิฯวิ. ตุฏฺฐิอุปฺปาเทตุ กปฺปตีติ กปฺปูรํ. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กปุ ตกฺโกลคนฺเธ วา, อูโร. ชื่อของต้นไม้เป็น ปุ. ชื่อของเกล็ด ที่กลั่นมาจากต้นไม้นั้นเป็น นปุ. พิมเสนก็ แปล. ส. กรฺปูร.
กปิลา : (อิต.) หนาด ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่งใบ ใหญ่หนามีกลิ่นฉุนใช้ทำยา, ดองดึง ชื่อไม้ เถาชนิดหนึ่ง ใช้หัวทำยา, ประดู่ลาย. กปิ จลเน, อิโล, อิตฺถิยํ อา.
กายคนฺธ : ป. กิเลสเครื่องร้อยรัดกาย; กลิ่นเกิดจากกาย, เครื่องหมอสำหรับลูบไล้ร่างกาย
กาฬานุสารี : (ปุ.) กะลำพัก ชื่อแก่นไม้ ซึ่ง เกิดจากต้นไม้บางชนิดซึ่งมีอายุมาก เช่น ต้นสลัดไดเป็นต้นมีกลิ่นหอม.
กุณปคนฺธ : ป. กลิ่นศพ, กลิ่นซากศพเน่า
ขฏ : (ปุ.) หญ้า, หญ้าหอม, แฝกหอม (รากมี กลิ่นหอมใช้ทำยาไทย), กร, มือ, กระพุ่ม มือ, ความปราถนา. ขฏฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ขฏ.
ขีรคนฺธ : ป. กลิ่นน้ำนม
ขีรมุข : (วิ.) มีปากเป็นไปด้วยกลิ่นแห่ง น้ำนม, มีปากยังไม่หมดกลิ่นน้ำนม, มีปากยังไม่สิ้นกลิ่นน้ำนม. วิ. ขีรคนฺธิกํ มุขํ ยสฺส โส ขีรมุโข.
คนฺธตณฺหา : (อิต.) ความอยากในกลิ่น, ความพอใจในกลิ่น.
คนฺธปญฺจงฺคุลิก : นป. เครื่องหมายนิ้วมือทั้งห้าที่บุคคลเจิมแล้วด้วยวัตถุมีกลิ่นหอม
คนฺธมาทน : (ปุ.) คันธมาทน์ ชื่อภูเขา เป็น ยอดของทิวเขาหิมาลัย ยอดที่ ๑ ใน ๖ ยอด, ภูเขายาหอม, ภูเขาอันยังสัตว์ผู้ถึง พร้อมให้เมาด้วยกลิ่น. วิ. อตฺตนิ สญฺชาต- คนฺธพฺพานํ คนฺเธหิ มทยติ โมทยตีติ วา คนฺธมาทโน. คนฺธปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท, ยุ. อรรถกถาสัมภวชาดก ติงสนิบาต วิ. สมฺปตฺตํ ชนํ คนฺเธน มทยตีติ คนฺธมาทโน. เวสฯ ๕๑๑.
คนฺธรส : (ปุ.) รสแห่งของหอม, รสหอม, มด ยอบ ชื่อยางไม่ชนิดหนึ่งมีกลิ่นหอม ใช้ เป็นเครื่องยาและอบกลิ่น.
คนฺธวาห : (ปุ.) ลม (นำกลิ่นไป).
คนฺธสญฺเจตนา : อิต. คันธสัญเจตนา, ความติดใจในกลิ่น
คนฺธสญฺญา : อิต. คันธสัญญา, ความสำคัญหมายในกลิ่น
คนฺธสาลิตณฺฑุลภตฺต : (นปุ.) ภัตแห่งข้าวสาร แห่งข้าวสาลีมีกลิ่นหอม. เป็น ฉ. ตัป. มี ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. วิเสสนปุพ. กัม. และ ฉ. ตัป. เป็นภายใน.
คนฺธสุคนฺธ : ป. กลิ่นและกลิ่นหอม, กลิ่นหอมมาก
คนฺธายตน : ป. อายตนะคือกลิ่น
คนฺธารมฺมณ : ๑. นป. คันธารมณ์, อารมณ์คือกลิ่น, ความติดในกลิ่น
๒. ค. มีกลิ่น
คนฺธาสา : อิต. ความหวังหรืออยากในกลิ่น
คนฺธิก : (วิ.) มีกลิ่น. วิ. คนฺโธ อสฺส อตฺถีติ คนฺธิโก. อิก ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. โมคฯ ลง ณิก ปัจ. ผู้มีของหอมเป็นสินค้า วิ. คนฺโธ อสฺส ภณฺฑนติ คนฺธิโก. ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท.
คนฺธิก, คนฺธี : ค. มีกลิ่นหอม, มีของหอม
คูถคนฺธี : ค. อันมีกลิ่นเหมือนกลิ่นคูถ, กลิ่นคูถ
ฆานธาตุ : อิต. ฆานธาตุ, ธาตุแห่งการรับรู้กลิ่น
ฆานวิญฺญาณ : นป. การรับรู้กลิ่น
ฆานายตน : นป. ฆานายตนะ, ฆานประสาท, สื่อกลางที่จมูกรับรู้กลิ่น
ฆายน : (นปุ.) การดม, การสูดดม, การสูดกลิ่น, การจูบ. ฆา ธาตุ ย ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ ยุ ปัจ.
จนฺทน : (ปุ. นปุ.) จันทน์ชื่อต้นไม้มีดอกผล และแก่นมีกลิ่นหอม, ต้นจันทน์, ไม้จันทน์, แก่นจันทน์. วิ. จนฺทยติ สีตคุณสมงฺคิตาย สตฺตานํ ปริฬาหํ วูปสเมนฺตํ สุขํ อุปฺปาเทตีติ จนฺทนํ. จทิ หิาทเน, ยุ. ส. จนฺทน.
จนฺทนคนฺธี : ค. มีกลิ่นแห่งไม้จันทน์, มีกลิ่นดุจไม้จันทน์
จนฺทนุสฺสท : ค. อบอวลด้วยกลิ่นไม้จันทน์
ชิญฺชุก : (ปุ.) มะกล่ำ, มะกล่ำเครือ มะกล่ำ ตาหนู ก็เรียก, กระพังโหม ชื่อไม้เถามี กลิ่นเหม็น ใบเรียวเล็ก ใช้ทำยา. ชญฺชฺ ยุทฺเธ, อุโล, อสฺสิ.
ตจคนฺธ : ป. กลิ่นอันเกิดแต่เปลือกไม้, กลิ่นเปลือก
ทุคฺคนฺธ : (วิ.) มีกลิ่นชั่ว, มีกลิ่นเหม็น. วิ. ทุฏฺโฐ กุจฺฉิโต วา คนฺโธ อสฺสาติ ทุคฺคนฺโธ.
เทวทารุ : (ปุ.) เทพทารู เทพทาโร ชื่อพรรณ ไม้ชนิดหนึ่ง มีกลิ่นหอมคล้ายการบูร เปลือกหอมใช้ปรุงอาหารรากใช้ทำยาไทย วิ. เทวานํ ตรุภูตตฺตา เทวทารุ.
นิทฺธูปน : ค. ซึ่งไม่มีกลิ่นหอม, ซึ่งไม่อบกลิ่น, ซึ่งไม่รมควัน
ปตฺตคนฺธ : ป. กลิ่นแห่งใบ, กลิ่นใบไม้
ปนฺนคนฺธ : ค. มีกลิ่นจางหายไป, หมดกลิ่น, กลิ่นเสีย, กลิ่นเหม็น
ปริวาสิต : กิต. อบกลิ่นหอมแล้ว, ส่งกลิ่นหอมแล้ว
ปริวาเสติ : ก. อบกลิ่นหอม, ส่งกลิ่น
ปวาสิต : ค. ซึ่งมอบให้, ซึ่งให้เกียรติ; อบกลิ่น
ปวูสิต : ค. อัน...อบกลิ่นแล้ว