ฆส : (วิ.) กิน, เคี้ยวกิน, กลืน, ผู้กิน, ฯลฯ. ฆส อทเน, อ.
ปริคิลติ : ก. กลืน
เขฬสิก, เขฬากปฺป : ค. ผู้กลืนกินน้ำลาย (เป็นคำที่หยาบคายหรือใส่โทษ), ผู้ติดในลาภสักการะ
คล : (ปุ.) คอ, ลำคอ (เครื่องกลืนกิน) วิ. คลนฺติ อเนนาติ คโล. คลฺ อทเน, อ. คิลติ อเนนาติ วา คโล. คิลฺ อชฺโฌหรเณ, อ, อิสฺส อตฺตํ.
คลชฺโฌหรนิย : ค. (ของแข็ง) ที่อาจกลืนกินได้
คลติ : ก. หยาด, หยด, ฝนตก, ไหล, เลื่อนไป, พลัด, หล่น, กลืนกิน
คิล : ป. การกลืนกิน; ไม้จำพวกมะนาว, มะงั่ว
คิลติ : ก. กิน, กลืนกิน
คิลน : นป. การกลืนกิน
คิลิต : (วิ.) กิน, กลืนกิน คิลฺ อชฺโฌหรเณ, โต. อิอาคโม.
ฆสฺต : ค. กลืนกินแล้ว, ใช้ในคำว่า “วงฺกฆสฺต” = กลืนกินขอแล้ว
นิคฺคิลติ : ก. กลืนลงไป, ขยอกลงไป
อชคร : (ปุ.) สัตว์ผู้กินแพะ, สัตว์ผู้กินแกะ, สัตว์ผู้กลืนแกะ, ฯลฯ, งูเหลือม.วิ. อชํคิลตีติอชคโล. อชปุพฺโพ, คิลฺ อทเน, อ, อิสฺสตฺตํ (แปลง อิ เป็น อ), ลสฺสรตฺตญฺจ (และแปลง ล เป็น ร).เป็นอชคล โดยไม่แปลง ล เป็น ร บ้าง. ส.อชคร งูใหญ่.
อชฺฌุปทรติ : ก. กลืนกิน
อชฺโฌหฏ : (ไตรลิงค์) การกิน, การกลืนกิน.อธิ อว ปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, โต, ตสฺส โฎ, รฺโลโป.
อชฺโฌหรณ : (นปุ.) การกิน, การกลืนกิน.ยุปัจ.
อชฺโฌหรณีย : ค. ซึ่งควรแก่การกลืนกิน, ควรกิน
อชฺโฌหรติ : ก. กลืนกิน, กิน
อชฺโฌหาร : (ปุ.) การกิน, การกลืนกิน. ณ ปัจ.
อสติ : ๑. ก. กิน, กลืนกิน, ดื่ม ;
๒. กิต. เมื่อไม่มี, ไม่มีอยู่, ไม่เป็นอยู่ ;
๓. ค. ไม่มีสติ
อสิต : (วิ.) ดำ, คล้ำ, เขียวคราม, ไม่ขาว.วิ.นสิโตอสิโต.กิน, กลืนกิน.อสฺ ภกฺขเณ, โต, อิ อาคโม.ส.อสิต.
อาหาร : (ปุ.) วัตถุอัน...พึงกิน, วัตถุอัน...พึง กลืนกิน, เครื่องบริโภค, เครื่องค้ำจุนชีวิต, ของกิน, อาหาร. วิ. โอชฏฺฐมกํ รูปํ อาหร ตีติ อาหาโร. อาหรติ พลายูนีติ วา อาหาโร. อาปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, โณ. แปลว่า การณะ, เหตุ. ปัจจัย การนำมา อีกด้วย. ส. อาหาร.
อิสิคิล : (ปุ.) ภูเขาผู้กลืนกินซึ่งฤาษี, ภูเขา อิสิคิลิ. วิ. อิสโย คิลตีติ อิสิคิลิ. อิสิปุพฺโพ, คิลฺ อชฺโฌหรเณ, อิ.
โอคิลติ : ก. กลืนลงไป
กลูน : (วิ.) ละห้อยไห้, พิลาป.
กิลน : (นปุ.) การผูก, การพัน, การรัด, การสาน. กิลฺ พนฺธเน, อ, ยุ.
กุลิน กุลีน : (ปุ.) คนมีตระกูล, เหล่ากอแห่ง ตระกูล วิ. กุลสฺส อปจฺจํ กุลิโน วา. อิน, อีน ปัจ.
กุลีน : ค., ป. ผู้มีสกุล, คนมีสกุล
โกลน : (นปุ.)การนับ, กุลฺ สํขฺยาเณ, โณ, ยุ.
สงฺกลน : นป. การบวก, การเพิ่ม, การเก็บ
กามคุณ : (ปุ.) ชั้นของกาม, ส่วนอันเป็นกาม, ส่วนที่ปรารถนา, กามคุณ ได้แก่รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ อันพึงใจ.
ฆายติ : ก. ดม; สูด (กลิ่น)
ปญฺจกามคุณ : ป. กามคุณห้า (รูป, เสียง, กลิ่น, รส, สัมผัส)
ปุนาติ : ก. ชำระ, ทำให้สะอาด, กลั่น, ร่อน