ลกฺข : นป. เครื่องหมาย, รอย, ที่หมาย, เป้า; แสน
สรพฺย สรวฺย : (นปุ.) ที่หมาย, เป้า. วิ. สโร วยติ อสฺมินฺติ สรพฺยํ สรวฺยํ วา. วยฺ คติยํ, อ, วสฺสาการโลโป (ลบ อ อักษรแห่ง ว).
จกฺกวิทฺธ : นป. ศิลปะแทงจักร, วิธีการยิงลูกศรไปยังเป้าหมายต่างๆ ซึ่งอยู่เป็นวงล้อมให้ลูกศรทะลุเป้าหมายเหล่านั้นแล้วกลับมาตั้งอยู่ในมือของผู้ยิง
อิทฺธิปาท : (ปุ.) ธรรมอันยังผู้ปฏิบัติให้ถึง ความสำเร็จ, คุณเครื่องให้สำเร็จ, คุณ เครื่องให้สำเร็จความประสงค์ตามเป้า หมาย, ปฏิปทาแห่งความสำเร็จ.
คุฬ : นป. น้ำอ้อยงบ, ลูกกลม, ขลุบ, ลูกโลก, กลุ่ม
คุฬิก : ๑. นป. หมู่, ก้อน; กลุ่ม; ห่วง, โซ่;
๒. ค. มีโซ่, มีห่วง
โคฬก : (ปุ.) ก้อน, กลุ่ม, งบ. โคฬศัพท์ ก สกัด.
จิณฺห : (นปุ.) ลักษณะ, เครื่องหมาย, เป้า, รอย, ตรา, แกงได. วิ. จิหียติ อเนนาติ จิณฺหํ. จิหฺ ลกฺขเณ, ยุ. แปลน น ซึ่งแปลง มาจาก ยุ เป็น ณ แล้วกลับอักษร ที่ไม่ กลับเป็น จิหณ ดู จิหณ.
ปูฏ ปูฎก : (ปุ.) ห่อ, กลุ่ม, กระบอก. ปุณฺ สงฺฆาเต, โฏ. ลบที่สุดธาตุ ทีฆะ อุ เป็น อู.
มกุล : ๑. นป. ช่อ, กลุ่ม; พวง;
๒. ค. ตูม
ราสิ : ป. กอง, ก้อน, กลุ่ม, ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม
สมุห สมูห : (ปุ.) ฝูง, ฯลฯ, กลุ่ม, ชุมนุม. วิ. สมฺมา วิเสเสน จ อูหเต ปุญฺชีภูตตฺตาติ สมุโห สมูโห วา. สมํ สหาวยเวน อูหตีติ วา สมุโห สมูโห วา. อูหฺ ปฐเน, อ. ศัพท์ต้นรัสสะ. ส, สมูห.
อกฺข : (ปุ.) คะแนน, เกวียน, กลุ่ม, ดุม, เพลา, เพลารถ. วิ.อรนฺติ เอเตนาติ อกฺโข. อรฺ อกฺ วา คมเน, โข. ถ้าตั้ง อรฺ แปลง รฺ เป็นกฺ. ส. อกฺษ.
อภิลกฺเขติ : ก. กะ, กำหนด, หมาย
องฺกน : (นปุ.) การกำหนด, หมาย (หนังสือเกณฑ์ หรือหนังสือเกาะกุมตัว). เครื่องหมาย, การทำเครื่องหมาย, การประทับตรา.ยุปัจ.
กตฺติกา : (อิต.) กัตติกา ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๓ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๘ ดวง, ดาวลูกไก่, ดาว ธงสามเหลี่ยม, กรรดึก. ส. กฤตฺติกา
กลิมฺพก กฬิมพก : (นปุ.?) หมาย. กลียุค
เคณฺฑุก : (ปุ.) ลูกคลี, ลูกคลีหนัง, ฟุตบอลล์ ตะกร้อหนัง, ตะกร้อ? , กลุ่ม. คุฑิ เวฐเน, คุทฺ กีฬายํ, ณุโก, อุสฺเส. ธาตุแรก ลง นิคคหิตอาคม แปลงเป็น ณฺ ธาตุหลังแปลง ทฺ เป็น ณฺฑ.
จิตฺตา : (อิต.) จิตตา ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๑๔ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๑ ดวง, ดาวตาจระเข้. วิ. ตจฺฉกสทิสตฺตา วิจิตฺตํ, ผลํ ททาตีติ จิตฺตา.
ติปุสผล : (นปุ.) แตงโม, แตงกวา. หมาย เอาผล.
นกฺขตฺต : (นปุ.) ลาว, ดวงดาว, ดาวฤกษ์, ฤกษฺ (ดาวที่มีลักษณะเป็นกลุ่มแก๊ส ทรงกลมสามารถแผ่รังสีออกได้รอบตัว), นักษัตร (ดาวฤกษ์มี ๒๗ กลุ่ม). วิ.ปุนปฺปุนํ อุทยโต น ขียเตติ นกฺขตฺตํ. นปุพฺโพ, ขี ขเย. โต. แปลง อี เป็น อ แปลง ต เป็น ตฺต ซ้อน กฺ. อตฺตโน คมนฏฐานํ น ขรติ น วินาเสตีติ วา นกฺขตฺตํ ขรฺ ขเย, นกฺขตีติ วา นกฺขตฺตํ. นกฺขฺ คติยํ, โต. เอตโต อิโต จาติ วิสมคติยา อคนฺตฺวา อตฺตโน วีถิยา ว คมเนน นกฺขนํ คมนํ ศายตีติ วา นกฺขตฺตํ. ตา เต วา ปาลเน. ส. นกฺษตฺร.
ปุพฺพผคฺคุณี : (อิต.) บุพผัคคุณี ชื่อดาวฤกษ์ กลุ่มที่ ๑๑ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๒ ดวง, ดาวงูเมีย.
ปุพฺพาสาฬฺห : (ปุ.) ปุพพาสาฬหะ บุรพาษาฒ ชื่อดาวฤกษ์ กลุ่มที่ ๒๐ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๓ ดาว, ดาวสัปคับช้าง.
มคสิร : (นปุ.) มคสิระ ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๕ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๓ ดวง, ดาวหัวเนื้อ.
มฆา : (อิต.) มฆา ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๑๐ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๕ ดาว, ดาว งู ผู้. วิ. มหียเต การยตฺถิเกหีติ มฆา. มหฺ ปูชายํ, อ, หสฺส โฆ, อิตฺถิยํ อา.
สวณ : (ปุ.) สวณะ ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๒๒ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๓ ดวง, ดาวหลักชัย. วิ. สวติ สุภาสุภผล เมเตนาติ สวโณ. สุ ปสเว, ยุ. เป็น สวน บ้าง.
สาติ : (อิต.) สาติ ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๑๕ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๕ ดวง, ดาวช้างพัง. วิ. สาติ สุภาสุภนฺติ สาติ. สา ตนุกรเณ, ติ.
หตฺถ : (ปุ.) หัตถะ หัสตะ ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๑๓ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๕ ดวง, ดาวศอกคู้. วิ. หตฺถสณฺฐานตาย หตฺโถ.
อาสาฬฺห : (ปุ.) อาสาฬหะ ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๒๐ ใน ๒๗ กลุ่ม
อุตฺตรภทฺทปทา : (อิต.) อุตตรภัททฺปทา ชื่อ ดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๒๖ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๒ ดวง, ดาวราชสีห์ตัวเมีย, ดาวไม้เท้า. ส. อุตฺตรภทฺรปทา.
กตญฺญูกตเวที : (ปุ.) บุคคลผู้รู้คุณท่านและ ตอบแทนคุณท่าน, ฯลฯ. ไทยตัดพูดเฉพาะ กตัญญู แต่ความหมาย หมายถึง กตเวที ด้วย.
กติกา : (อิต.) การทำ, กฤษฎีกา. กติศัพท์ ก สกัด อา อิต. กติกา ไทยใช้ในความหมายว่า การนัดหมาย ข้อตกลง ข้อ บังคับ เงื่อนไขที่กำหนดไว้ สัญญาบัง เกิดแต่การทำ. กฤษฏีกา (แผลงมาจาก กติกา) ใช้เป็นชื่อของกฎหมาย ซึ่งฝ่าย บริหารบัญญัติออกใช้เมื่อคราวจำเป็นใน นามของพระมหากษัตริย์ เรียกว่าพระราช กฤษฎีกา.
กติกาสณฺฐาน : นป. การเข้าถึง, การนัดหมายกัน, การตกลงกัน
กทลิผล : (นปุ.) กล้วย (หมายเอาผลที่เกิด จากต้นกล้วย).
กพฺพ : (นปุ.) กาพย์ ชื่อคำของกวี กลอน โคลง ฉันท์เป็นต้น. ไทยใช้หมายถึงคำประพันธ์ ชนิดหนึ่ง คล้ายฉันท์ แต่ไม่บังคับครุ, ลหุ. กุ สทฺเท, โณ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ. ส. กาวฺย
กรกผล : (นปุ.) ทับทิม (หมายเอาผล), ผล ทับทิม.
กรณตฺถ : ป. อรรถหรือความหมายว่าเป็นเครื่องมือ, กรณอรรถ, อรรถที่ลงในตติยาวิภัตติ
กฺริยากปฺปวิกปฺป : ป. ศาสตร์ว่าด้วยกระบวนการแต่ง (อันเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่กวี) หมายถึงเกฏุภศาสตร์
กฺริยาจิตฺต : (นปุ.) กริยาจิต กิริยาจิต หมายถึง การทำของพระอรหันต์.
กากบาท : (ปุ.) เท้าของกา, กากบาท ใช้เรียก รูปวรรณยุกต์ + เมื่อลงวรรณยุกต์นี้แล้ว ออกเสียงจัตวา และใช้เรียกรูป + (บวก) และรูป X (คูณ) คือใช้เรียกได้ทั้งเครื่อง หมายบวกและเครื่องหมายคูณ.
กายกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสัตว์ทำแล้วด้วยกาย, กรรมอันบุคคลทำแล้วด้วยกาย, วิ. กาเยน กตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. การทำด้วยกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมอันไปแล้ว ในกายทวาร วิ. กายทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมทางกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กายกรรม. กายกรรมที่ใช้ใน ภาษาไทย บางครั้งใช้ในความหมายว่าดัด ตนให้แข็งแรงด้วยท่าทางต่าง ๆ.
กายบริหาร : (ปุ.) การรักษาร่างกาย, การดูแลร่างกาย. คำกายบริหาร ไทยใช้ในความหมายว่า การบำรุงร่างกาย การออกกำลัง เพื่อรักษาร่างกาย.
การนฺต : (ปุ.) ที่สุดแห่งอักษร, อักษรตัวที่สุด, อักษรตัวหลัง (ของศัพท์), ไทย การันต์ หมายถึงอักษรที่ไม่ออกเสียง ซึ่งมีไม้ “ ์“ กำกับไว้.
กาสาย กาสาว : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยรสฝาด, ผ้าอันบุคคลย้อมแล้วด้วยน้ำ ฝาด, ผ้าย้อมด้วยรสฝาด, ผ้าย้อมด้วยน้ำ ฝาด, ผ้ากาสายะ, ผ้ากาสาวะ, จีวร. วิ. กสาเยน กสาเวน วา รตฺตํ วตฺถํ กาสายํ กาสาวํ วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. คำจีวรใน ที่นี้ หมายเอาเฉพาะผ้าที่ย้อมด้วยน้ำฝาดใน ความหมายของพระพุทธศาสนา.
กิจฺจลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอัน...พึงทำ, การกำหนดสิ่งที่พึงทำ, กิจจลักษณะ, กิจลักษณะ. ไทยใช้กิจจลักษณะเป็นวิเศษ ในความหมายว่า เป็นการเป็นงานเป็น เรื่องเป็นราว เป็นระเบียบเรียบร้อย.
กิมิกุล : นป. หมู่หนอน, กลุ่มหนอน
กุฏุมฺพี : (ปุ.) คนมีทรัพย์, กุฏุมพี กระฏุมพี (คนมั่งมี, พ่อเรือน). ไทยใช้ กระฏุมพี หมายถึงคนชั้นเลวชั้นต่ำก็มี เช่น ไพร่ กระฏุมพี.
กุมิน : (นปุ.) ไซ, ลอบ (เครื่องดักปลามีอย่าง ต่างๆ ถ้าเนื้อความมีความมีความหมาย กว้างๆแปลว่า ลอบไซ). วิ. วชฺฌปฺปตฺตาย กุจฺฉิตา มีนา ยสฺมึ ตํ กุมินํ. กมุ ปทวิกฺ เขเป, อิโน, อสฺส อุตฺตํ. กมนฺติ เอตฺถ มีนาทโย ปวิสนฺตีติ วา กุมินํ. อถวา, กุจฺฉิเตนากาเรน มจฺเฉ มินนฺติ เอเตนาติ วา กุมินํ. กุปุพฺโพ, มิ หึสายํ, ยุ.
กุลธีตุ : (อิต.) ธิดาแห่งตระกูล, ลูกหญิงผู้มีตระกูล, ลูกสาวผู้มีตระกูล, กุลธิดา. หมายถึงลูกของผู้มีสกุลดี หรือลูกสาวที่ รักษาความเป็นลูกผู้หญิงที่ดี มีมารยาทดี.
เกตน : (นปุ.) การกำหนด, การหมาย, ธง, บ้าน, เรือน, ที่อาศัย. กิตฺ ญาณนิวาเสสุ,ยุ.ส.เกตน.