Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กล่าวเกินจริง, กล่าว, เกิน, จริง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กล่าวเกินจริง, 433 found, display 1-50
  1. ชีวิตสีสี ชีวิตสทสีสี : (วิ.) ผู้มีกิเลสศรีษะสิ้น พร้อมด้วยชีวิต, ผู้มีกิเลสอันเป็นประธาน สิ้นไปพร้อมกับการสิ้นชีวิต, ผู้สิ้นกิเลส อันเป็นประธานพร้อมกับสิ้นชีวิต. กิเลส ที่เป็นประธานคืออวิชา. คำว่าสิ้นกิเลส พร้อมกับสิ้นชีวิตนั้นมิได้หมายความว่า เกิดพร้อมกันในวิถีจิตเดียวกัน อรหัตต – มัคคจิตเกิดประหาณ อวิชชาแล้ว ชีวิติน- ทรีย์ เจตสิกละรูปจึงดับ แม้ว่าจะห่างกัน หลายวิถีจิตก็จริง แต่เมื่อว่าโดยเวลาแล้ว ความดับกิเลสและสิ้นชีวิตก็กล่าวได้ว่าดับ ลงพร้อมกัน เพราะวิถีจิตเป็นไปเร็วมาก.
  2. ตถวจน : นป., ค. คำจริง; ผู้กล่าวคำจริง
  3. มุสาวาท : (ปุ.) การกล่าวซึ่งคำเท็จ, การกล่าวซึ่งคำปด, การพูดเท็จ, การพูดปด, การกล่าวคำเท็จ, คำเท็จ, คำปด, คำไม่จริง.
  4. อกรณียกิจฺจ : (นปุ.) กิจอัน....ไม่พึงทำ, กิจอัน....ไม่ควรทำ, อกรณียกิจ.กิจอันบรรพชิตไม่ควรทำ (ทำไม่ได้) มี๔ อย่าง.ความเป็นจริงกิจที่บรรพชิตไม่ควรทำทั้งสิ้น ชื่ออกรณียกิจ ที่ท่านยกขึ้นกล่าวเพียง ๔ อย่างนั้นกล่าวเฉพาะข้อที่สำคัญซึ่งล่อแหลมต่อการขาดจากความเป็นบรรพชิตและเพื่อให้เหมาะแก่เวลาเมื่ออุปสมบทเสร็จ.อกรณียกิจของคนทั่วไปได้แก่ กายทุจริต วจีทุจริต และมโนทุจริต.
  5. อติวากฺย : (ปุ.) คำอันพึงบุคคลพึงกล่าวล่วงเกิน, คำกล่าวล่วง, คำล่วงเกิน.อติปุพฺโพวจฺภาสเน, โณฺย, จสฺสโก.
  6. อภูตกฺขาน : นป. การพูดปด, การกล่าวคำไม่จริง
  7. กเถติ : ก. พูด, กล่าว, สนทนา
  8. คทติ : ก. พูด, กล่าว
  9. ฆุรติ : ก. กลัว, น่ากลัว; ออกเสียง, ร้อง, กล่าว
  10. ปฏิสรติ : ก. แล่นกลับ, วิ่งกลับ, ถอยหลัง, ล้าหลัง; หวนระลึก, กลับคิดถึง, กล่าว
  11. ปภาสติ : ก. ส่งแสง, ฉายแสง, สว่าง; กล่าว, พูด, บอก, เจรจา, ประกาศ
  12. พฺรูติ, พฺรูเมติ : ก. พูด, กล่าว
  13. ภิยฺโย : (อัพ. นิบาต) ยิ่ง, ยิ่งขึ้น, ยิ่งขึ้นไป, โดยยิ่ง, อีก, เกิน, มาก, เศษ (สิ่งที่เกิน), นัก, หนักเข้า. รูปฯ ว่าลงใน ปฐมา ทุติยา ด้วย.
  14. ภูต : (วิ.) ล่วงไปแล้ว, มีอยู่, เป็นอยู่, เสมอกัน, เท่ากัน, จริง, แท้.
  15. ยถตฺต ยถาตฺต : (อัพ. นิบาต) แท้, จริง, แท้จริง, ไม่กลับกลอก, โดยอันมีแท้.
  16. ยถาตถ : (อัพ. นิบาต) อย่างใดอย่างนั้น, อย่างไรอย่างนั้น, ตามจริง, จริง, แท้.
  17. ยาถาว : ค. แน่นอน, แน่แท้, จริง
  18. วฺยาหรติ : ก. พูด, คุย, กล่าว
  19. อธิก : (วิ.) ยิ่ง, ใหญ่, เกิน, มาก, มากยิ่ง, เหลือเหลือเฟือ, เพิ่ม, เพิ่มเข้ามา, เลิศ, อธึก.วิ.อธิเอตีติอธิโก.อธิปุพฺโพ, อิ คมเน, โก.อธิก
  20. อธิภาสติ : ก. พูด, บอก, กล่าว
  21. อพฺภุทีเรติ : ก. เปล่งเสียงออก, กล่าว
  22. อว : (อัพ. อุปสรรค)ปราศ (พ้นไป), รู้ (อวคต), ต่ำ, ลง(อวสิร), ใต้, แท้, แน่แท้ (อาธารณ), หมดจด (โวทาน), น้อย, ดูหมิ่น (อวชานน), ที่(โอกาส), ที่ว่าง, ติเตียน, แพร่หลาย, ซึมแทรก, แผ่ซ่าน, เสื่อม, กล่าว, ลัก(อวหาร), ลุ (ถึงสำเร็จ), แผนก, ส่วน.
  23. อาจิกฺขติ : ก. บอก, แสดง, แจ้ง, กล่าว
  24. อีหามิค : (ปุ.) หมาป่า. ส. อีหามฤค. อุ (อัพ. อุปสรรค) ขึ้น, แยก, ออก, เว้น, ไม่, กำลัง, กล่าว, ประกาศ, อาจ, เลิศ. ลงใน อรรถแห่ง น บ้าง อุ. อุรพฺภ.
  25. อุทฺธ : ค. เบื้องบน, เลย, เกิน, นอกเหนือไป, ข้างล่าง, (เวลา) หลัง, ต่อไป, ในอนาคต
  26. อุทฺธ : (อัพ. นิบาต) ข้างบน, เบื้องบน, เบื้องสูง, เหนือ, นอกเหนือไป, เลย, เกิน, ใน เบื้องบน, ในเบื้องสูง. อภิฯ และ รูปฯ เป็นนิบาตลงในอรรถสัตมี.
  27. อุทีเรติ, อุทีรยติ : ก. เปล่ง, กล่าว, พูด, ประกาศ; ให้เกิดขึ้น, ให้มีขึ้น
  28. โฆร : (วิ.) น่ากลัว, น่าสะพรึงกลัว, พิลึก, ไปเร็ว, ร้าย, ร้ายกาจ, ร้ายแรง, กึกก้อง, กล้า ( มาก แข็ง ), ร้อง, กล่าว. ฆรฺ ภิมตฺตสทฺเทสุ, โณ.
  29. ปทกฺขิณ : (วิ.) ดี, เจริญ, รุ่งเรือง, สุจริต, ( ตรง ซื่อ ซื่อตรง ไม่เอนเอียง จริง).
  30. วทติ : ก. กล่าว
  31. วเทติ : ก. กล่าว
  32. วุจฺจติ : ก. กล่าว
  33. สจฺจ : ๑. นป. ความจริง; ๒. ค. จริง
  34. เสส : (วิ.) เหลือ, เกิน. สิสฺ อสพฺพปฺปโยเค, โณ.
  35. อภิชปฺปติ : ก. ๑. อยาก, ปรารถนา; ๒. กล่าว
  36. อาภุส : (วิ.) กล้า, ยิ่ง, เกิน.
  37. กจฺฉติ : ก. อันเขาย่อมกล่าว, อันเขาย่อมทำ
  38. กฏุมิกา : อิต. ความไม่จริง, ความไม่แท้
  39. กณฺฐ : (ปุ.) อวัยวะสำหรับออกเสียง, อวัยวะ สำหรับกล่าว. กณฺ สทฺเท, โฐ. อวัยวะยัง วัตถุมีข้าวเป็นต้น ให้ล่วงลงไป วิ. โอทนา ทีนิ กาเมตีติ กณฺโฐ. กมฺ ปทวิกฺเขเป, โฐ. อวัยวะเป็นที่ตั้งแห่งศีรษะ วิ. กํ ติฏฺฐติ เอตฺถาติ กณฺโฐ. กปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ. อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ. คอ, ลำคอ, ศอ, กัณฐ์, กรรฐ์. ส. กณฺฐ, กรฺณ.
  40. กณิฏฺฐ กนิฏฺฐ : (วิ.) น้อยที่สุด, น้อยเกิน, หนุ่มเกิน, น้อย. อปฺป หรือ ยุว ศัพท์ อิฏฺฐปัจ. เสฏฐตัท. รูปฯ ๓๘๐ แปลง อปฺป ยุว เป็น กณ ศัพท์หลังแปลง ณ เป็น น. โมคฯณาทิกัณฑ์ ๑๓๗ แปลง อปฺป ยุว เป็น กณ กน. ส. กนิษฐ.
  41. กณิย กนิย : (วิ.) น้อยกว่า, น้อยเกิน, หนุ่ม เกิน, น้อย. อิย ปัจ. เสฏฐตัท.
  42. กตฺตุวาจก : (ปุ.) กัตตุวาจก, กรรตุวาจก ชื่อ วาจกที่กล่าวประธานเป็นผู้ทำ.
  43. กตปรปฺปวาท : ค. ผู้กล่าวร้ายคนอื่น
  44. กถกถา : อิต. วาจาเป็นเครื่องกล่าวว่าอะไร, ความสงสัย
  45. กถกถา กถงฺกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว ว่าอันว่าอะไร, ฯลฯ, ถ้อยคำแสดงความสงสัย, ความสงสัย. วิ. กถ มิท มิติ กถยติ ยาย สา กถํกถา.
  46. กถกถี : (วิ.) ผู้มีวาจาเป็นเครื่องกล่าวว่าอันว่า อะไร, ฯลฯ.
  47. กถน : (นปุ.) อันกล่าว, การกล่าว, การพูด, การอธิบาย. กถฺ วจเน, ยุ. ส. กถน.
  48. กถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว, วาจาเป็น เครื่องกล่าวแสดง, คำพูด, คำกล่าว , คำ อธิบาย, ข้อประพันธ์, เรื่อง, กถา (สมุด หรือหนังสือที่แต่งขึ้น นิยายที่สำเร็จด้วย การแต่งขึ้น และมีความยืดยาว), ประพันธ กถาศาสตร์. วิ. กเถติ เอตายาติ กถา. กถียตีติ วา กถา. กถยเตติ วา กถา. กถนํ วา กถา. กถฺ กถเน วากฺยพนฺธเน จ, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. กถา.
  49. กถาเปติ : ก. ให้กล่าว, ให้บอก
  50. กถิกาจริย : (ปุ.) อาจารย์ผู้กล่าว, อาจารย์ผู้ อธิบาย.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-433

(0.0295 sec)