โจเทติ : ก. โจท, ท้วง, กล่าวหา, ติเตียน, เตือน
อปวทติ : ก. ว่ากล่าว, ตักเตือน, ติเตียน, นินทา
โอวทน โอโวทน : (นปุ.) การกล่าวสอน, การสั่งสอน, การสอน,การแนะนำสั่งสอน, คำกล่าวสอน, คำสั่งสอน, คำแนะนำ, คำ แนะนำสั่งสอน, คำตักเตือน. อวปุพฺโพ, วทฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, ยุ. คำหลัง แปลง อ ที่ ว เป็น โอ.
กเถติ : ก. พูด, กล่าว, สนทนา
คทติ : ก. พูด, กล่าว
ฆุรติ : ก. กลัว, น่ากลัว; ออกเสียง, ร้อง, กล่าว
ปฏิสรติ : ก. แล่นกลับ, วิ่งกลับ, ถอยหลัง, ล้าหลัง; หวนระลึก, กลับคิดถึง, กล่าว
ปภาสติ : ก. ส่งแสง, ฉายแสง, สว่าง; กล่าว, พูด, บอก, เจรจา, ประกาศ
พฺรูติ, พฺรูเมติ : ก. พูด, กล่าว
วฺยาหรติ : ก. พูด, คุย, กล่าว
อธิภาสติ : ก. พูด, บอก, กล่าว
อพฺภุทีเรติ : ก. เปล่งเสียงออก, กล่าว
อว : (อัพ. อุปสรรค)ปราศ (พ้นไป), รู้ (อวคต), ต่ำ, ลง(อวสิร), ใต้, แท้, แน่แท้ (อาธารณ), หมดจด (โวทาน), น้อย, ดูหมิ่น (อวชานน), ที่(โอกาส), ที่ว่าง, ติเตียน, แพร่หลาย, ซึมแทรก, แผ่ซ่าน, เสื่อม, กล่าว, ลัก(อวหาร), ลุ (ถึงสำเร็จ), แผนก, ส่วน.
อาจิกฺขติ : ก. บอก, แสดง, แจ้ง, กล่าว
อีหามิค : (ปุ.) หมาป่า. ส. อีหามฤค. อุ (อัพ. อุปสรรค) ขึ้น, แยก, ออก, เว้น, ไม่, กำลัง, กล่าว, ประกาศ, อาจ, เลิศ. ลงใน อรรถแห่ง น บ้าง อุ. อุรพฺภ.
อุทีเรติ, อุทีรยติ : ก. เปล่ง, กล่าว, พูด, ประกาศ; ให้เกิดขึ้น, ให้มีขึ้น
อปโลกี : ค. มองดู, เพ่ง, ระวัง, เตือน
วทติ : ก. กล่าว
วเทติ : ก. กล่าว
วุจฺจติ : ก. กล่าว
อภิชปฺปติ : ก. ๑. อยาก, ปรารถนา;
๒. กล่าว
โฆร : (วิ.) น่ากลัว, น่าสะพรึงกลัว, พิลึก, ไปเร็ว, ร้าย, ร้ายกาจ, ร้ายแรง, กึกก้อง, กล้า ( มาก แข็ง ), ร้อง, กล่าว. ฆรฺ ภิมตฺตสทฺเทสุ, โณ.
จีวรวคฺค : (ปุ.) ตอนกล่าวถึงผ้า, ตอนกล่าวถึง ผ้าต่างๆ, ตอนว่าด้วยผ้าต่างชนิด.
ทสชาติ : (อิต.) ชาติสิบ, ทศชาติ ชื่อคัมภีร์ ชาดก กล่าวด้วยเรื่องพระพุทธเจ้าครั้งยัง เป็นพระโพธิสัตว์ ตอนก่อนตรัสรู้ มี ๑๐ ชาติ
ปวทติ : ก. กล่าว, พูด, สนทนา, โต้ตอบ
ปวุจฺจติ : ก. (อันเขา) กล่าว, เรียก
ภณติ : ก. กล่าว, สวด
ภาส : (วิ.) กล่าว, บอก, พูด. ภาสฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, อ.
ภาสติ : ก. กล่าว, ส่องแสง
วฺยาขฺยาติ : ก. กล่าว, ประกาศ
โวหรติ : ก. กล่าว, เรียก
อกฺขติ : ก. กล่าว, บอก, ประกาศ
อกองฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าวเป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร.อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
อก องฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าว เป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆ ของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร. อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
อชฺฌภาสติ : ก. กล่าว, ปราศรัย
อภิภาสติ : ก. กล่าว, พูด
อภิวทติ : ก. กล่าว, ประกาศ, กล่าวต้อนรับ, กล่าวแสดงความยินดี
กจฺฉติ : ก. อันเขาย่อมกล่าว, อันเขาย่อมทำ
กณฺฐ : (ปุ.) อวัยวะสำหรับออกเสียง, อวัยวะ สำหรับกล่าว. กณฺ สทฺเท, โฐ. อวัยวะยัง วัตถุมีข้าวเป็นต้น ให้ล่วงลงไป วิ. โอทนา ทีนิ กาเมตีติ กณฺโฐ. กมฺ ปทวิกฺเขเป, โฐ. อวัยวะเป็นที่ตั้งแห่งศีรษะ วิ. กํ ติฏฺฐติ เอตฺถาติ กณฺโฐ. กปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ. อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ. คอ, ลำคอ, ศอ, กัณฐ์, กรรฐ์. ส. กณฺฐ, กรฺณ.
กตฺตุวาจก : (ปุ.) กัตตุวาจก, กรรตุวาจก ชื่อ วาจกที่กล่าวประธานเป็นผู้ทำ.
กตปรปฺปวาท : ค. ผู้กล่าวร้ายคนอื่น
กถกถา : อิต. วาจาเป็นเครื่องกล่าวว่าอะไร, ความสงสัย
กถกถา กถงฺกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว ว่าอันว่าอะไร, ฯลฯ, ถ้อยคำแสดงความสงสัย, ความสงสัย. วิ. กถ มิท มิติ กถยติ ยาย สา กถํกถา.
กถกถี : (วิ.) ผู้มีวาจาเป็นเครื่องกล่าวว่าอันว่า อะไร, ฯลฯ.
กถน : (นปุ.) อันกล่าว, การกล่าว, การพูด, การอธิบาย. กถฺ วจเน, ยุ. ส. กถน.
กถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว, วาจาเป็น เครื่องกล่าวแสดง, คำพูด, คำกล่าว , คำ อธิบาย, ข้อประพันธ์, เรื่อง, กถา (สมุด หรือหนังสือที่แต่งขึ้น นิยายที่สำเร็จด้วย การแต่งขึ้น และมีความยืดยาว), ประพันธ กถาศาสตร์. วิ. กเถติ เอตายาติ กถา. กถียตีติ วา กถา. กถยเตติ วา กถา. กถนํ วา กถา. กถฺ กถเน วากฺยพนฺธเน จ, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. กถา.
กถาเปติ : ก. ให้กล่าว, ให้บอก
กถิกาจริย : (ปุ.) อาจารย์ผู้กล่าว, อาจารย์ผู้ อธิบาย.
กถี : ค. ผู้กล่าว, ผู้แสดง
กมฺมกถา : อิต. การกล่าวเรื่องของกรรม, กรรมบรรยาย