Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กล้ามเนื้อ, เนื้อ, กล้าม , then กลาม, กล้าม, กล้ามเนื้อ, นอ, เนื้อ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กล้ามเนื้อ, 136 found, display 1-50
  1. กุรุงฺคมิค : ป. กวาง, เนื้อ
  2. ชงฺฆาล : ป. กวาง, เนื้อ
  3. มิคสารงฺค : (ปุ.) ทรายทอง ชื่อเนื้อ, เนื้อ, เนื้อทราย (กวาง).
  4. เปยฺยาล : (ปุ.) เนื้อความเพื่อความเป็นของอันบัณฑิตพึงรักษาไว้, เนื้อความควรเพื่ออันให้พิสดาร, เนื้อ ความควรเพื่ออันรักษาไว้, เปยยาล, ไปยาล. ในไวยากรณ์ใช้เป็นเครื่องหมายละคำ รูป“ฯ” นี้ เรียกว่า ไปยาลน้อย รูป “ฯลฯ” หรือ “ฯเปฯ” เรียกว่า ไปยาลใหญ่.
  5. อามิส : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องล่อใจ, วัตถุเครื่องล่อใจ, สินบน, เหยื่อ, เหยื่อล่อ, เนื้อ (เนี้อสัตว์ต่างๆ ), อามิส ( ของกินอย่างใดอย่างหนึ่งวัตถุมีข้าวเป็นต้น ).วิ. อามียติอนฺโตปกฺขิปียตีติอามิสํ.อาปุพฺโพ, มิปกฺเขปน, สกฺปจฺจโย, กฺโลโป, สปจฺจโยวา.อถวา, มิสฺสทฺเทอามสเนวา, อ. ส. อามิษ.
  6. กเสรุ : (ปุ.) กระจับ ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง ขึ้น ลอยอยู่ในน้ำ มีฝักเป็นสองเขาคล้ายศรีษะ ควาย เมื่อแก่มีสีดำ ตกอยู่ที่พื้นดิน เนื้อ ข้างในขาว มีรสมัน, วิ. เก สยตีติ กเสรุ. กปุพฺโพ, สี สเย, รุ.
  7. จกฺขุ : (นปุ.) ตา ( ธรรมชาติที่เห็นรูปได้ ), นัยน์ตา โดยมากหมายเอา แววตา ประสาท ตา. วิ. จกฺขติ รูปนฺติ จกฺขุ จกฺขฺ ทสฺสเน, อุ. กัจฯ และรูปฯ ลง ณุ ปัจ. จกฺขุ ศัพท์ ใช้ในอรรถ ๕ อย่างคือ พุทฺธจกฺขุ ได้แก่ พุทธญาณ ๑ สมนฺตจกฺขุ ได้แก่พระ สัพพัญญุตญาณ ๑ ปญฺญาจกฺขุ ได้แก่จักษุ คือปัญญา ๑ ธมมจกฺขุ ได้แก่ญาณ ใน มรรคสามเบื้องต้น ๑ มํสจกฺขุ ได้แก่ตา เนื้อ และทิพฺพจกฺขุ ตาทิพ ๑ ส. จกฺษุ.
  8. ปิสิต : ๑. นป. เนื้อ ; ๒. ค. อันเขาบด, อันเขาขยำ, อันเขาทำลายแล้ว
  9. มส : (นปุ.) เนื้อ (เนื้อของคนและสัตว์ต่างๆ ), มังสะ, มางสะ. วิ. มญฺญเตติ มํสํ. มนฺ ญาเณ, โส, นสฺส นิคฺคหิตํ.
  10. มิค : (ปุ.) เนื้อ ชื่อของสัตว์ป่า มีกวาง อีเก้ง เป็นต้น ปศุ สัตว์เลี้ยง สัตว์ของเลี้ยง จามจุรี จามรี สองคำนี้เป็นชื่อของเนื้อทราย มีขนละเอียดหางยาวเป็นพู่เป็นสัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค. วิ. มียติ มํสํ ขาทิตุกามิเคหิ จาติ มิโค. มิ หึสายํ, โค. อิโต จิโต จ โคจรํ มเคตีติ วา มิโค. มคฺ อเนฺวสเน, อ. แปลง อ ที่ ม เป็น อิ. มคฺคียติ มํสาทิอตฺถิเกหิ ลุทฺเทหีติ วา มิโค. มคฺคฺ คเวสเน, อ. ลบ ค. สังโยค. หรือตั้ง มรฺ ปาณจาเค, อ, รสฺส โค, อิตฺตญฺจ.
  11. อชินโยนิ : (ปุ.) เนื้อ คือสัตว์สี่เท้าพวกกวาง, กวาง, จามจุรี. โครัม ก็ว่า. ส. อชิโยนิ.
  12. อินฺทธนุ : (นปุ.) รุ้ง, สายรุ้ง, รุ้งกินน้ำ. วิ. อินฺทสฺส สกฺกสฺส ธนุ อินฺทธนุ. ส. อินฺทฺร ธนุ. ไทยนำคำนี้มาใช้ตามรูปสันสกฤตว่า อนิทรธนู (ออกเสียงว่า อินทะนู) เป็นชื่อ ของเครื่องประดับบ่าทั้งสองข้าง เป็นผ้า เนื้อ เดียวกับเสื้อ เย็บติดกับเสื้อ รูปเรียวเล็กน้อย ด้านทางคอมีรูสำหรับร้อยลูกกระดุม อีกอย่างหนึ่ง ทำเป็นธนูแข็งติดเครื่องหมายยศทั้งสองข้าง. และเป็นชื่อของลายขอบ ที่เป็นกระหนก.
  13. กกฺกฏ : ป. เนื้อ, กวาง
  14. กปฺปาสสุขุม : ค. มีเนื้อฝ้ายที่อ่อนนุ่มนิ่ม
  15. กมฺมชรูป กมฺมชฺชรูป : (นปุ.) รูปอันเกิดแต่ กรรม, กัมมชรูป กัมมัชชรูป คือรูปที่ กรรมสร้าง มองด้วยตาเนื้อไม่เห็น เกิด พร้อมกับปฏิสนธิจิต เพราะจิตยังอาศัยรูป นี้อยู่ และเกิดดับเป็นสันตติ จนถึงจุติจิต (มรณสันนวิถี). ส. กรฺมชรูป.
  16. กหาปณก : นป. ชื่อของการทรมานชนิดหนึ่งซึ่งเฉือนเนื้อออกเป็นชิ้นๆ เท่าเหรียญกหาปณะ
  17. กุมิน : (นปุ.) ไซ, ลอบ (เครื่องดักปลามีอย่าง ต่างๆ ถ้าเนื้อความมีความมีความหมาย กว้างๆแปลว่า ลอบไซ). วิ. วชฺฌปฺปตฺตาย กุจฺฉิตา มีนา ยสฺมึ ตํ กุมินํ. กมุ ปทวิกฺ เขเป, อิโน, อสฺส อุตฺตํ. กมนฺติ เอตฺถ มีนาทโย ปวิสนฺตีติ วา กุมินํ. อถวา, กุจฺฉิเตนากาเรน มจฺเฉ มินนฺติ เอเตนาติ วา กุมินํ. กุปุพฺโพ, มิ หึสายํ, ยุ.
  18. กุรุงฺค : (ปุ.) กวาง, จามรี จามจุรี ชื่อเนื้อทรายมี ขนละเอียด หางพวงเป็นพู่. วิ. กุยํ รงฺคตีติ กุรุงฺโค. กุปุพฺโพ, รงฺค. คมเน, อ, อสฺสุ. เป็น กุรงฺค โดยไม่แปลง อ เป็น อุ บ้าง.
  19. กุห กุหึ : (อัพ. นิบาต) ใน...ไหน, ใน...ไร, ใน ที่ไหน, ในที่ไหนๆ. (สำหรับประโยคที่ เนื้อความเป็ยพหุ.)
  20. โกฏมฺพร : (นปุ.)ผ้าทำด้วยขนสัตว์เนื้อละเอียด วิ. มิคโลมานิ โกฏฺเฏตฺวา สุขุมานิ กตฺวา กต มมฺพรํ โกฏมฺพรํ. ผ้าเกิดในรัฐโกฏุม- พระ วิ. โกฏุมฺพรฏฺเฐ ชาตตฺตา โกฏุมฺพรํ.
  21. ขฏฺฏิก : (ปุ.) พรานเนื้อ, พรานป่า. ส. ขฏฺฏิก.
  22. ขาราปตจฺฉิก : ป. การทรมาน, การลงโทษวิธีหนึ่ง โดยการใช้มีดสับร่างกายแล้วเอาแผลจุ่มน้ำกรดทำให้เนื้อหนังเอ็นหลุดไปให้เหลือแต่โครงกระดูก
  23. คพฺโภทร : (นปุ.) เนื้อนี้ของโค วิ. คุนฺนํ อิทํ มํสํ คพฺยํ. ย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๕. สิ่งนี้มีอยู่ในวัว วิ. คเว ภวํ คพฺยํ. ณฺย ปัจ. ชาตาทิตัท. รูปฯ ๓๖๓.
  24. คาถาวณฺณนา : (อิต.) กถาเป็นเครื่องพรรณนา ซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, กถาเครื่องพรรณนา ซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, วาจาเป็นเครื่อง พรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, การพรรณ- นาซึ่งเนื้อความแห่งคาถา. วิ. คาถตฺถสฺส วณฺณนา วา คาถา วณฺณนา. คาถาย อตฺถสฺส
  25. คุยฺหมตฺถ : (ปุ.) เนื้อความลับ, ความลับ, เรื่องลับ. คุยฺห+อตฺถ มฺ อาคม.
  26. โคกณฺฏก : (ปุ.) โคกกระสุน ชื่อไม้เลื้อย ลูก เป็นหนาม ใช้ทำยา, กระจับ ชื่อพรรณไม้ ใบสีเขียว อาศัยใบและก้านเป็นทุ่นลอย อยู่ในน้ำ มีฝักคล้ายเขาควาย เมื่อแก่มีสีดำ เนื้อในสีขาว เป็นอาหารมีรสมัน วิ. ควํ กณฏโก โคกณฺฏโก. ปฐวึ วา ลคฺคคณฺฏโก โคกณฺฏโก, เอกักขรโกสฏีกา วิ. โคสฺส สุริยสฺส กณฺฏโก โคกณฺฏโก.
  27. โควิกตฺตน : นป. มีดหั่นเนื้อ
  28. ฆนมส : (นปุ.) เนื้อแท่ง, เนื้อล่ำ.
  29. จมร : (ปุ.) จมร จามรี จามจุรี ชื่อสัตว์จำพวก เนื้อทรายขนละเอียด หางยาวเป็นพู่ จมุ อทเน, อโร.
  30. จมร, - มรี : ป. จามรี, ชื่อเนื้อทรายมีขนอ่อนละเอียด หางยาวเป็นพู่สัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค
  31. จลนี : (ปุ.) เนื้อฉมัน, เนื้อสมัน, ไก่เถื่อน, ลิงลม, บ่าง, เลียงผา, ชนี.
  32. จิตฺตก, จิตฺรก : ๑. ป. กวางดาว, เนื้อลาย, เสือดาว; ๒. ค. วิจิตร, สวยงาม, มีลวดลาย, มีหลายสี
  33. จิตฺตมิค : ป. กวางดาว, เนื้อลาย
  34. จีน : (ปุ.) ผ้าเมืองจีน, จีนะ ชื่อเนื้อชนิดหนึ่ง.
  35. จุณฺณียปท : (นปุ.) บทบาลีเล็กน้อย, จุณณียบท คือบทบาลีที่ยกขึ้นแสดงแต่เล็กน้อยก่อนที่ จะแสดงเนื้อความพิศดาร.
  36. ชมฺพุนท ชมฺพูนท : (นปุ.)ชัมพุนทะ ชัมพูนทะ, ชัมพูนท ชมพูนท ชมพูนุท ชามพูนุท ชามพูนทะ, โชมโพนทะ ชื่อทองพิเศษ ๑ ใน ๔ อย่าง, ทอง, ทองคำ, ทองชมพุนุท (ทองที่เกิดแทบต้นหว้าเนื้อบริสุทธิ์). วิ. เทวรุกฺขภุตาย มหาชมฺพุยา ปติฏฺฐตฏฺฐาเน นที ชมฺพุนที, ตสฺสํ ปติเตหิ มหาคชปฺป – มาณานํ กุมฺภปฺปมาณานํ วา ผลานํ พีเชหิ ชาตํ สุวณฺณํ ชมฺพุนทํ ชมฺพูนทํ วา. ส. ชามพูนท.
  37. ชมฺพุ (พู) นท : นป. ทองชมพูนุท, ทองเนื้อดี
  38. ชาติสุวณฺณ : นป. ทองคำธรรมชาติ, ทองเนื้อดี, ทองแท้
  39. ญาณทสฺสนวิสุทฺธิ : (อิต.) ความบริสุทธิ์แห่ง ความรู้และการเห็นพระนิพพาน (เหมือน เห็นด้วยตาเนื้อ), ปัญญาที่บริสุทธิ์แห่ง ญาณทัสสนะได้แก่ญาณในอริยมรรคทั้ง ๔.
  40. โฏฏมฺพร : นป. ผ้าอย่างดี, ผ้าทอด้วยขนสัตว์มีเนื้อละเอียด
  41. ตถา : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้น, อย่างนั้น, เหมือน กัน, เหมือนอย่างนั้น, มีอุปมัยเหมือน อย่างนั้น, ประการนั้น. รูปฯ ๔0๕ ตั้ง วิ. ไว้ ๓ วิภัตติ กัจฯ ๓๙๘ ตั้ง วิ. ไว้ทุกวิภัตติ ตามแต่เนื้อความในประโยคนั้น ๆ.
  42. ตทฺธิต : (นปุ.) ตัทธิต ชื่อบาลีไวยากรณ์แผนก หนึ่ง ลงปัจ. ไว้ที่ศัพท์หน้าแทนศัพท์หลัง ที่ลบ เพื่อทำคำพูดให้สั้นลง วิ. ตสฺส อตฺสฺส หิตํ ตทฺธิตํ (ปจฺจยชาตํ) แปลว่า ปัจจัยเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่เนื้อความนั้น. เป็น ฉ.ตัป. แปลง ห เป็น ธ ซ้อน ทฺ.
  43. ตนฺตุนาค : (ปุ.) เมล็ดผักกาด, เมล็ดพันธุ์ผัก กาด, ปลีน่อง (กล้ามเนื้อที่มีลักษณะคล้าย หัวปลีอยู่ด้านหลังของหน้าแข้ง).
  44. ตาลมิญฺช : นป. ลอนตาล, เนื้อตาล
  45. เตล : (นปุ.) น้ำมัน, ( ที่ได้จากพืชและเนื้อสัตว์ ไขสัตว์) , น้ำมันงา ( ได้จากงา ). ติลฺ สิเนหเณ, โณ. แปลว่า สำลี นุ่น ฝ้าย ก็มี. ส. ไตล.
  46. ถูลวตฺถ : นป. ผ้าเนื้อหยาบ
  47. ถูลสาฏกทานมตฺต : (วิ.) สักว่าอันให้ซึ่ง ผ้าสาฏกเนื้อหยาบ.
  48. เถรก : ค. (ผ้า) มีเนื้อหยาบ (บางแห่งเป็นเถวก, โจรก, หรือ โธรก )
  49. ทกฺขิเณยฺยเขตฺต : นป. เนื้อนาบุญอันควรซึ่งทักษิณา, บุคคลผู้เป็นดุจเนี้อนาที่ควรนำไทยธรรมมาถวาย
  50. ทีปกมิค : (ปุ.) เนื้อสำหรับต่อ, เนื้อต่อ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-136

(0.0580 sec)