Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กว่ , then กว, กว่, กว่า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กว่, 146 found, display 1-50
  1. กวิ : (ปุ.) คนมีปัญญา, คนมีปัญญาดี. วิ. กวยติ กเถตีติ กวิ. กวิ วรฺณเณ, อิ. กุ สทฺเท วา. อภิฯ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจ วิ. กนฺตํ กวตีติ กวิ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจคือ คำอันยังใจให้เอิบ อาบ วิ. กนฺตํ มนาปวจนํ กวตีติ กวิ. กุ สทฺเท. กวฺ กวิ วณฺณายํ วา, อิ. นักปราชญ์ (ในศิลปะการประพันธ์). วิ. กพฺยํ พนฺธตีติ กวิ. อิ ปัจ. กัจฯ ๖๖๙. ส. กวิ.
  2. กวี : (ปุ.) คนผู้กล่าวซึ่งคำอันบุคคลพึงยินดี โดยปกติ วิ. กวติ กมิตพฺพวจนํ สีเลนาติ กวี. คนผู้กล่าวซึ่งคำอันบุคคลพึงรักโดย ปกติ วิ. กวติ เปมนียวจนํ สีเลนาติ กวี. กุ สทฺเท, ณี. ตั้ง วิ. ได้อีก.
  3. อุตฺตร : (วิ.) ยิ่ง, กว่า, ประเสริฐ, สูงสุด (อุตตโร อุตฺตมสทิโส), แข้น (พ้นจาก แห้งจวนแข็ง หรือหมายถึงแข็งก็ได้), กล้าแข็ง, กวน, คน (กวนของให้กระจาย หรือให้เข้ากัน), คม (ไม่ทื่อ), ต่อไป, ซ้าย, เหนือ, หลัง, บน, เบื้องบน, ข้างบน, พ้น, อื่น.
  4. กฺว : (อัพ. นิบาต) ใน...ไหน, ใน...ไร, ในไหน, ในไร. กึ ศัพท์ ว ปัจ. ลบ อึ. ส. กฺว.
  5. กีว : อ. เท่าไร? มากเท่าไร? มีประมาณเท่าไร?
  6. กีว กีวตก : (อัพ. นิบาต) เพียงไร, เท่าไร. บอกปริจเฉท ปุจฉกะ และปทปูรณะ. กึ ศัพท์ รีว รีวตกํ ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์.
  7. กุว, กุว, กฺว : อ. ที่ไหน?
  8. กุว กุวล กุวลฺย : (นปุ.) บัว, บัวสาย. วิ. กุยา ปฐวิยา วลฺยํ อิว โสภกรตฺตา กุวลฺยํ.
  9. มากฺกว : (ปุ.) ตองแตก ชื่อไม้เถาใบเป็นแฉกใช้ทำยา. มุจ โมจเน, อโว, อุสฺสา, จสฺส โก, ทฺวิตฺตญฺจ.
  10. อุป : (อัพ. อุปสรรค) เข้าไป, ใกล้, มั่น, สนิท, สนิธ, รอง, ข้าง, ข้างบน, เหนือ, ยิ่ง, ก่อน, เลว, ต่ำ. อุ. อุปฺขาริยํ โทโณ. โทณะต่ำ กว่า ขาริ. ส. อุป.
  11. กญฺญ า : (อิต.) หญิงผู้อันบุรุษ ท. พึงยินดี, หญิงผู้อันบุรุษยินดี, หญิงผู้ยังบุรุษให้ยินดี, หญิงผู้รุ่งเรือง, สาวน้อย, นาง, นางสาว, นางสาวน้อย, หญิงสาว, นางงาม, ผู้หญิง (คำนามนาม มิใช่วิเสสนะ), ธิดา, พะงา. วิ. กนียติ กามียติ อภิปตฺถียติ ปุริเสหีติ กญฺญา. กนฺ ทิตฺติกนฺตีสุ, โย, นฺยสฺส ญตฺตํ ทฺวิตฺตํ, อิตฺถิยํ อา กํ ปุริสํ ญาเปตีติ วา กญฺญา. กปุพฺโพ, ญปฺ โตสเน, กฺวิ, ปฺโลโป, ญฺสํโยโค. โยพฺพนภาเว ฐิตตฺตา กนตีตี วา กญฺญา. ส. กนฺยา กนฺยกา.
  12. กฏฺฐ การ : (ปุ.) ช่างไม้ วิ. กฏฺฐํ กโรตีติ กฏฺฐ กาโร. ณ ปัจ. กฏฺฐ าริ (ปุ.อิต.) ผึ่ง ชื่อเครื่องมือสำหรับถาก ไม้ชนิดหนึ่ง รูปคล้ายจอบ ใส่ด้ามยาว สำหรับถือถาก ใบหนากว่าจอบ แต่โค้งงอ มาทางผู้ถือด้าม.
  13. กณฺฐ : (ปุ.) อวัยวะสำหรับออกเสียง, อวัยวะ สำหรับกล่าว. กณฺ สทฺเท, โฐ. อวัยวะยัง วัตถุมีข้าวเป็นต้น ให้ล่วงลงไป วิ. โอทนา ทีนิ กาเมตีติ กณฺโฐ. กมฺ ปทวิกฺเขเป, โฐ. อวัยวะเป็นที่ตั้งแห่งศีรษะ วิ. กํ ติฏฺฐติ เอตฺถาติ กณฺโฐ. กปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ. อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ. คอ, ลำคอ, ศอ, กัณฐ์, กรรฐ์. ส. กณฺฐ, กรฺณ.
  14. กณฺณชลุกา กณฺณชลูกา : (อิต.) กิ้งกือ, ตะขาบ, ตะเข็บ ชื่อสัตว์เลื้อยคลานชนิด หนึ่งมีตีนมากคล้ายตะขาบแต่ตัวเล็กกว่า.
  15. กณิย กนิย : (วิ.) น้อยกว่า, น้อยเกิน, หนุ่ม เกิน, น้อย. อิย ปัจ. เสฏฐตัท.
  16. กนิย : (วิ.) น้อยกว่า, น้อยเกิน, น้องกว่า, หนุ่ม เกิน, น้อย. อปฺป+อิย ปัจ. แปลง อปฺป เป็น กน.
  17. กปิฏฺฐ กปิตฺถ : (ปุ.) มะขวิด, ต้นมะขวิด. วิ. กวิมฺหิ วานเร ติฏฐตีติ กปิฏโฐ. กวิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตติยํ, กฺวิ, วสฺส โป, ฏฺสํโยโค. ศัพท์หลัง แปลง ฐ เป็น ถ ซ้อน ต.
  18. กพร : (วิ.) หลายสี, ด่าง, พร้อย, ด่างพร้อย. กวฺ วณฺเณ, อโร, วสฺส โพ.
  19. กมฺมช : (วิ.) เกิดแต่กรรม วิ. กมฺมโต ชาโตติ กมฺมโช (วิปาโก). กมฺมโต ชาตาติ กมฺมชา (ปฏิสนฺธิ). กมฺมโต ชาตนฺติ มฺมชํ (รูปํ). ชนฺ ชนเน, กฺวิ, นฺโลโป. กมฺมโต ชาโต กมฺมโช. ต. ตัป., ปญ จ. ตัป.
  20. กวิฏฺฐ : (ปุ.) ต้นมะขวิด วิ. กวิมฺหิ ติฏฺฐตีติ กวิฏฺโฐ. กวโย ติฏฺฐนฺติ เอตฺถาติ กวิฏฺโฐ.
  21. กาทมฺพ : (ปุ.) นกกาน้ำ ตัวดำคล้ายนกกาแต่ คอยาวกว่า หากินในน้ำ, นกทิ้งทูดเท้งทูด ก็เรียก เป็นจำพวกนกทืดทือ, นกเค้าโมง เป็นนกหากินกลางคืน, นกกะลิง ปากดำตัว เขียว คล้ายนกแก้ว. กทมฺพโยคา กาทมฺโพ.
  22. กานน : (นปุ.) ดง, ป่า, หมู่ไม้. วิ. เกน ชเลน อนนํ ปาน มสฺสาติ กานนํ. ฐิ ตมชฺฌนฺติก- สมเย กวติ สทฺทํ กโรติติ วา กานนํ. โกกิลม ยูราทโย กวนฺติ สทฺทายนฺติ กูชนฺติ เอตถาติ วา กานนํ. กุ สทฺเท, ยุ. ส. กานน.
  23. กิจฺจวตฺต : (นปุ.) ความประพฤติอัน...พึงทำ, ฯลฯ, ความประพฤติตามหน้าที่, เรียกกิจ ทางศาสนาที่จะพึงทำเป็นประจำ เช่น ทำ วัตรเช้า ทำวัตรเย็น เป็นต้นว่า กิจวัตร. กิจที่ทำเสมอ ๆ แม้มิใช่กิจทางศาสนาก็ เรียกกิจวัตรได้บ้าง ผู้เขียนมีความเห็นว่า ควรยกไว้เป็นศัพท์เฉพาะกิจทางศาสนา เหมาะกว่า.
  24. กิลญฺช : (ปุ.) เสื่อ, สาด, ลำแพน, เสื่อลำแพน, เสื่อหยาบ. กิลปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ, นิคฺคหิตาคโม.
  25. กิเลสวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) วนคือกิเลส, กิเลสวัฏ. กิเลสเป็นเหตุให้สัตว์วนคือท่องเที่ยวหรือ เวียนว่ายตายเกิดในภพต่าง ๆ เพราะเมื่อ กิเลสเกิดขึ้นแล้วเป็นเหตุให้ทำกรรมเมื่อทำ กรรมแล้วจะต้องได้รับผลของกรรมนั้น เมื่อเสวยผลของกรรมอยู่ กิเลสก็เกิดขึ้น อีก วนกันไปอย่างนี้ กว่าพระอรหัตต- มรรคจะตัดให้ขาดลง. ธรรมปริจเฉทที่ ๒.
  26. กุจฺฉิฏฺฐ : (ปุ.) กุจฉิฏฐะ ชื่อลมภายในอย่างที่ ๓ ใน ๖ อย่าง, ลมในท้อง. วิ. กุจฺฉิมฺหิ ติฏฺฐตีติ กุจฺฉิฏฺโฐ. กุจฺฉิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, กฺวิ, ฏฺ สํโยโค.
  27. กุลุปก กุลุปค กุลูปค : (วิ.) ผู้เข้าถึงตระกูล, ผู้ประจำตระกูล. วิ. กุลํ อุปคจฺฉตีติ กุลุปโค. กุล+อุป+คมฺธาตุ กฺวิ ปัจ. ที่เป็น กุลปก เพราะแปลง ค เป็น ก กัจฯ ๒๙ รูปฯ ๔๒.
  28. เกฏุภ : (นปุ.) เกฏุภศาสตร์ ศาสตร์ว่าด้วยกิริยา และเป็นชื่อของศาสตร์ที่แสดงลักษณะของ โครงฉันท์ กาพย์ วิ. กิฎนฺติ กวโย โกสลฺลํ พนฺธเนสุ เอเตนาติ เกฎุภํ. กิฏฺ คติยํ, อโภ, อิสฺเส, อสฺสุจ. อถวา, กิฏฺปุพฺโพ, อภฺ ปูรเณ, อ.
  29. เกวล : (วิ.) เดียว, อย่างเดียว, ทั้งปวง, ทั้งมวล ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, สิ้นเชิง, มาก, ส่วนมาก, จำนวนมาก,ไม่ระคน, ล้วน, ล้วนๆ, แข็งแรง ,มั่นคง, โดยมาก, ไกวัล. เกวฺ ชนเน, อโล.
  30. ขิปฺปตร : ก. วิ. เร็วกว่า, ด่วนกว่า, รีบมาก
  31. : (วิ.) ไป, ถึง, เป็นไป, นำไป. คมฺ คติยํ, กฺวิ, โร วา.
  32. คณฺฑุปาท คณฺฑุปฺปาท : (ปุ.) สัตว์ผู้ยังปุ๋ย ให้เกิด, ไส้เดือน, รากดิน (ไส้เดือน). วิ. คณฺฑํ วจฺจสนฺนิจยํ อุปฺปาเทตีติ คณฺฑุปฺปา- โท. กฺวิ ปัจ.
  33. คุณิฏฺฐ คุณิย : (วิ.) มีคุณที่สุด มีคุณกว่า. คุณวนฺตุ, คุณมนฺตุ+อิฏฐ, อิย ปัจ. ลบ วนฺตุ, มนฺตุ วิ. สพฺเพ อิเม คุณวนฺโต คุณมนฺโต วา, อยมิเมสํ วิเสเสน คุณวา คุณมา วาติ คุณิฏฺโฐ คุณิโย. รูปฯ๓๘๐.
  34. โคฏฺฐ : (นปุ.) ที่เป็นที่ดำรงอยู่ของโค, คอกโค. วิ. คาโว ติฏฺฐนฺตฺยตฺราติ โคฏฺฐ. โคสทฺทุปทํ. ฐา คตินิวุตฺติยํ, กฺวิ, ฏฺสํโยโค. ดู คุฏฺฐ ด้วย.
  35. โคธา : (อิต.) เหี้ย ชื่อสัตว์ชนิดหนึ่งคล้าย จะกวด แต่ใหญ่กว่า หางแบน เป็นสัตว์ ครึ่งน้ำครึ่งบก. คุธฺ โรเส, อ. ส. โคธา ว่าจะกวด.
  36. จิตฺตช จิตรช : (วิ.) เกิดแต่จิต วิ. จิตฺตโส ชาโต จิตฺตโช. เกิดในจิต วิ. จิตฺตสฺมึ ชาโต จิตฺตโช. กฺวิ ปัจ. นามกิตก์ จะตอบเป็น ปญจมีตัป. สัตตมีตัป. ก็ได้. โส ปัจ. ลงใน ปัญจมีวิภัติ.
  37. จิรตร : อ. นานกว่า, ยั่งยืนกว่
  38. ฉชฺช : (ปุ.) ฉัชชะ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๓ ใน ๗ อย่าง เกิดจากหกส่วนคือ จมูก ปาก อก เพดาน ลิ้น และฟันหรือคอ เป็นเสียง เหมือนนกยูงร้อง วิ. ฉหิ ชาโต ฉชฺโช. ฉ+ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง ช เป็น ชฺช.
  39. ตนุตร : ค. บางกว่า, น้อยกว่
  40. ติสรณ : (นปุ.)ที่พึ่งสาม,สรณะสาม,ไตรสรณะ. ไตรสรณะคือ พระพุทธ พระธรรม และ พระสงฆ์ เป็นสรณะที่พึ่งสูงสุดของพุทธ ศาสนิกชน ๆ จะนับถือสิ่งอื่นสูงกว่าหรือ เทียบเท่าพระรัตนตรัยไม่ได้ ถือว่าขาด จากพระรัตนตรัย. ส. ไตรสรณ.
  41. ตุมฺหาทิส ตุมฺหาทิสี : (วิ.) ผู้เช่นท่าน, เห็น ราวกะว่าซึ่งท่าน, เห็นราวกะว่าท่าน. วิ. ตุมฺห วิย ทิสฺสตีติ ตุมฺหาทิโส ตุมฺหาทิสี วา. ตุมฺหบทหน้า ทิสฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. รูปฯ ๕๗๒.
  42. ตุรค ตุรงฺค : (ปุ.) สัตว์ผู้ไปเร็ว, ม้า. วิ. ตุรํ สีฆํ คจฺฉตีติ ตุรโค ตุรงฺโค วา. ตุรปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, กฺวิ, ศัพท์หลัง ลงนิคคหิตอาคม. ส. ตุรค ตุรงฺค ตุรงฺคม.
  43. ทณฺฑช : (วิ.) เกิดแต่อาชญา วิ. ทณฺฑโต ชาโต ทณฺฑโช. เป็นนามกิตก์ ทณฺฑ บท หน้า ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ก็ได้ เป็น ปัญฺจ. ตัป. ก็ได้.
  44. ทพฺพี : (อิต.) ช้อน ทัพพี ทรพี (เครื่องตักข้าวตักแกงรูปร่างคล้ายช้อน แต่ใหญ่กว่า). วิ. โอทนาทีนิ อเนน ทาเรนฺตีติ ทพฺพี. ทรฺ วิทารเร, โพ, รสฺส โพ. ทุ คติยํ, วา, โพ. พฤธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว ว เป็น พ หรือแปลง อุ เป็น อ ซ้อน พฺ เป็น ทพฺพิ ก็มี. ส. ทรฺพิ.
  45. ทิชาธิป : (ปุ.) สัตว์ผู้เป็นใหญ่กว่านก, ครุฑ.
  46. ทิปทุตฺตม : (วิ.) ผู้สูงกว่าสัตว์สองเท้า, ผู้สูงในสัตว์สองเท้า, ผู้สูงกว่าสัตว์, ผู้สูงกว่าสรรพสัตว์.
  47. ทีป : (ปุ. นปุ.) เกาะชื่อของแผ่นดินที่มีน้ำล้อมรอบและเล็กกว่าแผ่นดินที่เป็นทวีป.วิ.ทฺวิชาคตานิอาปานิอสฺมึเหตุภูเตติทีโป.แปลงทฺวิเป็นทิหรือลบวฺเหลือเป็นทิทีฆะเป็นทีลบอาและนที่อาปานรัสสะอาที่ปาอภิฯและฎีกาอภิฯ.ส.ทวีป.
  48. เทวเทว : (ปุ.) เทพผู้ยิ่งกว่าเทพ. พระเทวเทพ เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. เทวานํ อติเทโว เทโว. เทวาน มธิโก วา เทโว เทวเทโว.
  49. เทวาติเทว : (ปุ.) เทวดาผู้ยิ่งกว่าเทวดา, เทวดาล่วงเสียซึ่งเทวดา, เทวดาผู้เป็นจอมแห่งเทวดา, เทวดาและเทวดาผู้ยิ่ง.
  50. ธี : (อิต.) ปรีชา, ปัญญา. วิ. ฌายตีติ ธี, เฌ จินฺตายํ, กฺวิ, ฌสฺส โธ, เอการสฺส อีกาโร. ธาเรตีติ วา ธี. ธา ธารเณ, สํขาเรสุ วิกาโร ชายติ เอตายาติ วา ธี, ชนฺ ชนเน, ชนสฺส ชา. แปลง ชา เป็น ธา แปลง อา ที่ ธา เป็น อี.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-146

(0.0221 sec)