ปุถุ : ๑. อ. นอกจาก, แต่, ต่างหาก, เว้นเสีย, คนละแผนก, ต่างๆ , กว้างขวาง;
๒. ค. หนา, ใหญ่, มาก, กว้าง, อ้วน
พิสาล : (วิ.) ใหญ่, กว้าง, กว้างขวาง, แผ่ไป, งาม, ไพศาล. ดู วิสาล.
ผิต ผีต : (วิ.) แผ่ไป, เผล็ต, บาน, แพร่หลาย, มั่งคั่ง, ผึ่งผาย, กว้าง, กว้างขวาง. ผิ คมเน, โต. ศัพท์หลังทีฆะ.
วิตฺถาร : ป. การแผ่ไป, ความพิสดาร, กว้างขวาง
วิสาล : ค.ใหญ่โต, กว้างขวาง
อายต : (วิ.) กว้าง, กว้างขวาง, ยาว, ยืด, แผ่ออกไป.อาปุพฺโพ, ยตฺอายเต, อ.อิคมเนวา.โต.แปลงอิเป็นเอ เอ เป็นอย ทีฆะ.ส.อายต.
อุฬาร : (วิ.) ใหญ่, ใหญ่โต, ยิ่ง, ยิ่งใหญ่, ประเสริฐ, เลิศ, เลิศล้น, กว้างขวาง, แพร่หลาย, ไพเราะ, หยาบ (ไม่ละเอียด), โอฬาร. วิ. อุฬนํ อุคฺคมนํ วิปุลคมนํ อุฬารํ. อุลฺ อุคฺคมเน, อาโร, ลสฺส ฬตฺตํ. ส. อุทาร.
ตต : (วิ.) แผ่, แผ่ไป, ขยาย, กว้างขวาง., แพร่หลาย. ตนุ วิตฺถาเร, โต, นฺโลโป.
ติริย : (อัพ. นิบาต) ภายนอก, ขวาง, ปิด, โดยขว้าง, โดยกว้าง, โดยเบื้องขวาง, ใน เบื้องขวาง. รูปฯนามกัณฑ์ว่าเป็น สัตตมิยัตถนิบาต.
วิปุล : ค. กว้างขวาง, มาก
ติริย : (วิ.) ขวาง, กว้าง. ติรฺ อโธคติยํ, อิโย.
ตนน : (นปุ.) การแผ่, การแผ่ไป, การขยาย, การขยายไป, ความแพร่หลาย, ความกว้างขวาง. ตนุ วิตฺถาเร, ยุ.
ปถน : (นปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป. ปถฺ คติยํ, ยุ. ความแผ่ไป, ความพิสดาร, ความกว้างขวาง. ปถฺ วิตฺถาเร, ยุ.
ปุถุปญฺญ : ค. ผู้มีปัญญากว้างขวาง
ปุถุปญฺญตา : อิต. ความเป็นผู้มีปัญญากว้างขวาง
ปุถุภูต : ค. ซึ่งแผ่ออกไปอย่างกว้างขวาง
พุทฺธญาณ : นป. ญาณของพระพุทธเจ้า, ความรู้ที่กว้างขวางไม่มีขอบเขตจำกัด
ภูริปญฺญ : (วิ.) ผู้มีปัญญาราวกะว่าแผ่นดิน, ผู้มีปัญญากว้างขวางดังแผ่นดิน, ผู้มีปัญญากว้างขวางดุจแผ่นดิน, ผู้ประกอบด้วยปัญญากว้างขวางเสมอด้วยแผ่นดิน.
มหาตณฺห : (วิ.) มีความปรารถนาใหญ่, มีความปรารถนามาก, มีใจกว้างใหญ่, มีใจกว้างขวาง, มีตัณหามาก, มักใหญ่.
มหาสย : (วิ.) มีความปรารถนาใหญ่, ฯลฯ, มีใจกว้าง, มีใจกว้างขวาง, ใจกว้าง. มหนฺต+อาสย.
วิตฺถาริก : ค. มีความกว้างขวาง
วิตฺถาริต : กิต. กว้างขวางแล้ว
ติโร : (อัพ. นิบาต) ภายนอก, ขวาง, ปิด, โดยขวาง, ในเบื้องขวาง, ในภายนอก. รูปฯ นามกัณฑ์ว่าลงในอรรถสัตมี.
อายตก : (วิ.) เดิม, กว้าง, ฯลฯ.
อาฬาร : ค. หนา, กว้าง, โอฬาร, คด, งอ
อุปรุนฺธติ : ก. เข้าไปปิดไว้, กั้น, ขวาง, ห้าม
กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
โกชว : (ปุ.) โกเชาว์ อาสนะพิเศษทั้งกว้างทั้งยาว, ผ้าลาด, ผ้าทำด้วยขนแกะ, ผ้าโกเชาว์, พรม, เบาะ, เปล.
ขคฺค : (ปุ.) กระบี่, ดาบ, พระขรรค์ ชื่อศัตราวุธ ชนิดหนึ่ง มีคมสองข้าง กลางของความกว้างนูน ปลายแหลม, พระขรรค์ชัยศรี. คำชัยศรีเป็นคำใช้ประกอบชื่อของสิ่งต่างๆ ที่ถือว่าเป็นมงคล. ขคฺคฺ ขณฺฑเภเท, อ. ส. ขฑฺคฺ.
ขมฺเภติ : ก. ยัน, ค้ำ, สนับสนุน; ขัดขวาง, ดับ
ชโลทร : (นปุ.) ท้องน้ำ (พื้นที่หรือบริเวณอัน กว้างใหญ่ของน้ำ), ห้วงน้ำ, แม่น้ำ, ทะเล.
ติรจฺฉ : ก. วิ. ขวาง, ไปผิดๆ , ไปขวางๆ
ติรจฺฉาน : ป. ผู้ไปขวาง, สัตว์เดียรฉาน
ติรจฺฉานวิชฺชา : (อิต.) วิชาขวาง, วิชาขวาง ทางไปนิพพาน, ติรัจฉานวิชา คือความรู้ที่ไร้สาระ ความรู้ที่ไม่เป็นประโยชน์ วิชาที่ไม่ทำตนให้พ้นจากทุกข์ซึ่งพระพุทธเจ้า ทรงห้ามมิให้ภิกษุ - สามเณรศึกษา เช่น วิชาทำเสน่ห์ยาแฝดเป็นต้น.
ตุมูล : ค. ยิ่งใหญ่, กว้างใหญ่
นิรคฺคล : ค. ซึ่งไม่ขัดขวาง, ซึ่งไม่เบียดเบียน, อันปราศจากลิ่มหรือกลอน
นิรคฺคล นิรคฺคฬ : (วิ.) มีลิ่มออกแล้ว, ไม่ห้าม, ไม่เบียน, ไม่ขัดข้อง, ไม่ขัดขวาง, ไม่ติด ขัด, ปลอดอุปสรรค.
นิวรณ : (ปุ.) การห้าม, การกั้น, การขัดขวาง, เครื่องห้าม, เครื่องกั้น, เครื่องขัดขวาง, กิเลสอันกั้นจิตไม่ให้บรรจุความดี, ธรรม อันกั้นจิตไม่ให้บรรลุความดี, นิวรณ์, นีวรณ์. นิยยานวรณฏฺเฐน นิวารณา นีวารณา วา. ชื่อว่า นิวรณ์ เพราะอรรถ ว่าเป็นเครื่องกั้นธรรมเครื่องนำออก. ไตร. เป็น นปุ. บ้าง. ฌานาทิกํ ทิวาเรนฺตีติ นิวารณาทิ.
นิวารณ : (นปุ.) การปิด, การปิดบัง, การเปิด บังให้พ้นภัย, การเกียดกัน, การป้องกัน, การป้องกันให้พ้นภัย, การพิทักษ์รักษา, ความปิด. ฯลฯ. นิปุพฺโพ, วรฺ อา วรเณ, ยุ. ส. นิวารณ การขัดขวาง, การต่อต้าน.
นิวาริย : ค. ซึ่งควรแก่การห้ามหรือขัดขวาง
ปกฺขพิลาล : ป. นกเค้าแมว, ค้างความแม่ไก่ (ค้างคาวใหญ่ บางตัวมีช่วงปีกกว้างถึงห้าฟุต)
ปฏิปถ : ป. ทางตรงข้าม, ทางขวางหน้า, ทางสวนกัน
ปฏิพาหก : ค., ป. ซึ่งห้าม, ซึ่งป้องกัน, ซึ่งขัดขวาง; ยาถอน (พิษ)
ปฏิพาหติ : ก. ห้าม, คัดค้าน, ป้องกัน, ขัดขวาง, ขจัด, ขับไล่
ปฏิพาหิย : ค. ซึ่งจะต้องขัดขวางหรือป้องกัน
ปฏิมคฺค : ป. ทางสวนกัน, ทางขวางหน้า
ปฏิรุทฺธ : ค. ซึ่งถูกขัดขวาง, ซึ่งถูกกันไว้, ซึ่งถูกกักขัง
ปฏิวาณ : นป. การขัดแย้ง, การขัดขวาง, การต้านทาน
ปฏิวิรุทฺธ : กิต. ผู้ขัดแย้ง; ผู้โกรธ, ผู้เป็นปฏิปักษ์; ซึ่งถูกขัดขวาง
ปฏิเสธติ, - เธติ : ก. ปฏิเสธ, ห้าม, ป้องกัน, กีดกั้น, ขัดขวาง