กสา : (อิต.) แส้, แส้ม้า, หวาย. กสฺ คมเน, อ. ส. กสา, กษ.
กุสา : (อิต.) เชือกที่รัดจมูกม้ากับบังเหียน. กุสฺ สิเลสเน, อ, อิตฺถิยํ อา. ส.กุศ.
กสทน : ป. ปรอท
กิส กิสล : (วิ.) ผอม, บาง, ซูบ, น้อย. กิสฺ ตนุกรเณ สาเน วา, อ. อภิฯ ลง ณ ปัจ. กัจฯ ๖๗๓ วิ. กิตพฺพนฺติ กิสํ. กิ หึสายํ. อิส ปัจ. ศัพท์หลัง กิสฺ ธาตุ อล ปัจ.
กีส : (วิ.) ผอม, บาง, ซูบ. กิสฺ สาเน, อ. ทีโฆ.
โกสิ : (อิต.) ฝัก เช่นฝักดาบเป็นต้น. กุสฺ สิเลสเน, อิ.
อุกฺกส : (ปุ.) นกเขา, นกออก. วิ. อุทฺธํ โกสตีติ อุกฺกโส. อุทฺธํปุพฺโพ, กุสฺ สทฺเท, อ.
อุกส อุกฺกส : (วิ.) ยิ่ง, ยิ่งยวด, ดียิ่ง, สูงสุด, อุกฤษฎ์, อุกกฤษฎ์. อุปุพฺโพ, กสฺ วิเลขนคมเนสุ, อ.
กสิ : (อิต.) การไถ, การทำนา, การเพาะปลูก. วิ. กสนํ กสิ. เครื่องไถ. ลง อี ปัจ. เป็น กสี บ้าง.
กสิ, - สี : อิต. การเพาะปลูก, การไถ, การหว่าน
กสี : อิต. การเพาะปลูก, การไถนา
กิส, กิสก : ค. ผอม, บาง, ร่างน้อย
กึสุ : อ. แลหรือ, อย่างไร, อย่างไรเล่า
กุส : (วิ.) ตัดบาป วิ. กุ สาติ ตนุ กโรตีติ กุสํ. กุปุพฺโพ, สา ตนุกรเณ, อ.
กุส, - สก : ป. หญ้าคา, ข่า; สลาก
กุสิ : นป. ผ้ากุสิ, ชิ้นผ้าตัวยืนเล็กรียาวต่อข้างมณฑล และอัฑฒมณฑลในจีวร ๕ ขันฑ์
เกส : (ปุ.) ผม วิ. เก สีเส เสนฺตีติ เกสา. กปุพฺโพ, สิ วุฑฺฒิยํ, อ. เก มตฺถเก เสติ ติฏฺฐตีติ เกโส. ก ปุพฺโพ, สี สเย, อ. ส.เกศ
เกสี : (ปุ.) อวัยวะมีผม, หัว. อี ปัจ.
โกส : (วิ.) แย้ม, ตูม, แง้ม (เปิดน้อยๆ).
โกสี : อิต. ป. ต้นมะม่วง; รองเท้า
สุปณฺณวกสทน : (นปุ.) เรือนเหมือนปีกแห่งครุฑ, เรือนมุงแถบเดียว. สุปิณฺณ+วํก+สทิส+สทนํ.
กสฏ : (ปุ.) กาก ส่วนที่คั้นหรือคัดเอาของดี ออกแล้ว, เดน ของที่ไม่ต้องการแล้ว ของ ที่เหลือแล้ว. เป็น กสต ก็มี. กส. วิเลขเณ, โต.
กจฺฉุ : (อิต.) โรคคัน, หิด, หิดเปื่อย, คุดทะราด, หูด, เต่าร้าง, หมามุ่ย. กสฺ หึสายํ, อุ, สสฺส จฺโฉ. ส. กจฉู.
กฏฺฐ : (นปุ.) ไม้, ตัวไม้, ฟืน. วิ. กาสเต อคฺคินา ทิปฺปเตติ กฏฺฐํ. กาสฺ ทิตฺติยํ, โต, สสฺส โฏ, รสฺโส, ตสฺส โฐ, ตสฺส ฎฺโฐ วา. ถ้าใช้นัย หลังคือ แปลง ต เป็น ฏฺฐ ก็ลบที่สุดธาตุคือ สุ. กสติ ยาติ วินาสตีติ วา กฏฺฐํ. กสฺ คติยํ, โต. กัจฯ ๖๗๒ วิ. กฏิตพฺพํ มทฺทิตพฺพนฺติ กฏฺฐํ. กฏฺ มทฺทเน, โฐ.
กสก : (ปุ.) ชาวนา, ผาล คือ เหล็กที่สวมหัว หมูของไถ ใช้ไถนาไถสวน. วิ. กสติ ภูมึ วิลิขตีติ กสโก. กสฺ วิเลขเณ, ณฺวุ.
กสมฺพุ : (ปุ.) กาก, หยากเยื่อ. กสฺ วิเลขเณ, อมฺพุ. ลง ก สกัดเป็น กสมฺพุก บ้าง.
กสฺสก : (ปุ.) คนไถนา, ชาวนา. วิ. กสฺสตีติ กสฺสโก. กสฺ วิเลขเณ, ณฺวุ. แปลง ส เป็น สฺส. ส. กรฺษก.
กสิณ : (วิ.) ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, ล้วน. กสฺ คมเน, อิโณ.
กิสลย : (นปุ.) ยอดอ่อน, ข้อ. วิ. กสติ วุทฺธึ ยาตีติ กิสลยํ. กสฺ คมเน. อ ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ อย ปัจ. ลฺ อาคมในท่ามกลาง แปลง อ ที ก เป็น อิ. อภิฯ ลง ย ปัจ.
กิโสร : (ปุ.) ลูกม้า วิ. กสตีติ กิโสโร. กสฺ คมเน, โอโร, อสฺสิ. กิญฺจิ สรตีติ กิโสโร. กึปุพฺโพ, สรฺ จินฺตายํ, อ, พินฺทุโลโป, อสฺ โส (ลบนิคคหิต แปลง อ ที่ ส เป็น โอ).
กุกฺกุตฺถก กุกุตฺถก : (ปุ.) นกกวัก, ไก่ป่า. กุสฺ สทฺเท,ถโก, ทฺวิตฺตํ, กุสสฺส สสฺส โต(แปลง ส แห่ง กุส เป็น ต). ศัพท์ต้นซ้อน กฺ.
กุจฺฉ : (นปุ.) บัวขาว. กุสฺ ทิตฺติยํ, อ. แปลง ส เป็น จฺฉ.
กุจฺฉิต : (วิ.) ต่ำช้า, เลว, เลวทราม. วิ. กุจฺฉา สญฺชาตา อสเสติ กุจฺฉิโต. ศัพท์ กุจฺฉิต ที่แปลว่า อันบัณฑิตติเตียนแล้ว มาจาก กุสฺ อกฺโกเส, โต สสฺส จฺโฉ, อิอาคโม.
กุสม : (ปุ.) โรคประจำเดือนของหญิง, ระดูของ หญิง. กุสฺ อวหาเณ, อโม.
กุสุม : (ปุ.) โรคประจำเดือนของผู้หญิง, ประจำ เดือนของหญิง, ประจำเดือน (ระดูของ หญิง), ระดูของหญิง. อภิฯ เป็น นปุ กุสฺ อวฺหาเณ, อุโม.
กุสูล : (ปุ.) คลัง, ฉาง, ยุ้ง. กุสฺ สิเลสเน, อูโล ส.กุศูล.
เกสร : (ปุ.) บุนนาค, ไม้บุนนาค. อติสยปุปฺผ- เกสรวนฺตตาย เกสโร. กิสฺ ตนุกรเณ, อโร. ปุปฺผเกสยุตฺตตาย วา เกสโร. โร.
โกฏฺฐ : (วิ.) เต็ม, อัน...ให้เต็ม กุสฺ ปูรเณ, โต.
โกตฺถ โกตฺถุ : (ปุ.) หมาจิ้งจอก วิ. กุสติ เถรวนาทตฺตาติ โกตฺโถ โกตฺถุ วา. กุสฺ ธาตุในความเห่า ถ ถุ ปัจ. แปลงเป็น ตฺถ ตถุ ลบ สฺ หรือแปลง สฺ เป็น ตฺ ไม่แปลง ปัจ.
โกสมฺพี : (อิต.) โกสัมพี ชื่อนครพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. ขาทถ ปิวถาติ อาทีหิ ทสหิ สทฺเทหิ กุสนฺติ เอตฺถาติ โกสมฺพี. กุสฺ อวฺหาเณ, วี, นิคฺคหิตาคโม, ฎีกาอภิฯ ลง พ ปัจฺ อี อิต.
โกสิก : (ปุ.) ไม้กำกูน. ไม้คำกูน ก็เรียก. กุสฺ เฉทเน, ณฺวุ, อุสฺโส, อิอาคโม.
มตฺตกาสินี : (อิต.) หญิงอย่างดี, หญิงผู้ดี, นางโฉมงาม, มตฺตปุพฺโพ, กสฺ คติยํ, ณี, อินี จ.
อกฺกุฏฺฐ : (นปุ.) คำด่า. อาปุพฺโพ, กุสฺ อกฺโกเส, โต.แปลงตเป็นฏฺฐลบสฺ รัสสะ อา เป็นอซ้อน กฺก.
อกฺโกส : (ปุ.) การด่า, การแช่ง, คำด่า, คำแช่ง, คำสบประมาท. อาปุพฺโพ, กุสฺ อกฺโกสเภทเนสุ, อ, ยุ.
อกฺโกสน : (นปุ.) การด่า, การแช่ง, คำด่า, คำแช่ง, คำสบประมาท. อาปุพฺโพ, กุสฺ อกฺโกสเภทเนสุ, อ, ยุ.
อกฺโกสนา : (อิต.) การด่า, การแช่ง, คำด่า, คำแช่ง, คำสบประมาท. อาปุพฺโพ, กุสฺ อกฺโกสเภทเนสุ, อ, ยุ.
อชฺโฌกาสอพฺโภกาส : (ปุ.) ที่แจ้งยิ่งนัก, โอกาสอันยิ่ง, ที่แจ้ง, กลางหาว.อธิอวปุพฺโพ, อภิอวปุพฺโพ, กสฺ วิเลขเน, โณ.
อชฺโฌกาส อพฺโภกาส : (ปุ.) ที่แจ้งยิ่งนัก, โอ กาสอันยิ่ง, ที่แจ้ง, กลางหาว. อธิ อว ปุพฺโพ, อภิอวปุพฺโพ, กสฺ วิเลขเน, โณ.
อุกฺกฏฺฐ : (วิ.) ยิ่ง, ยิ่งยอด, สูงสุด, อุกกฤษฎ์. อุปุพฺโพ, กสฺ วิเลขนคมเนสุ, โต, ตสฺส ฏฺโฐ. สฺโลโป. ส. อุตฺกฤษฺฏ. อุกฺกฏฺฐ
อุกส อุกฺกส : (วิ.) ยิ่ง, ดียิ่ง, อุกกฤษฎ์. อุปุพฺโพ, กสฺ คติยํ, อ, นิคฺคหิตาคโม.