Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กับ , then กบ, กปฺ, กับ, กัป .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กับ, 336 found, display 1-50
  1. ส : อ. พร้อม, กับ, ดี
  2. อมา : (อัพ. นิบาต) พร้อม, กับ, พร้อมกับ, ร่วม, ร่วมกัน, ร่วมกับ.ใกล้เคียง. สหตฺถวจกนิปาต.
  3. กฏจฺฉุภิกฺขามตฺตทาน : (นปุ.) การให้ซึ่งวัตถุ มีภิกษาทัพพีหนึ่งเป็นประมาณ. เป็น ทุ ตัป. มี วิเสสนบุพ. กับ., ฉ. ตุล. และ วิเสสนปุพ. กัม. เป็นท้อง. คำว่าหนึ่งเป็น คำเหน็บเข้ามา ไม่ใช่เอก ศัพท์.
  4. เคยฺย : (นปุ.) คำอันบุคคลพึงขับ, คำเพียงดัง เพลงอันบุคคลพึงขับ, พระพุทธพจน์อัน ควรขับ, เคยยะ ชื่อองค์ที่ ๒ ใน ๙ ของ นวังคสัตถุสาสน์ ได้แก่พระสูตรมีคาถา แต่งเป็นร้อยแก้วบ้างร้อยกรองบ้าง. คา สทฺเท, ณฺย. แปลง โณฺย กับ อา เป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐. อีกนัยหนึ่งลบ ณฺ แล้วแปลง ย กับ อา เป็น เอยฺย.
  5. ตโต : (อัพ. นิบาต) แล, เพราะ, เพราะเหตุนั้น, ด้วยเหตุนั้น, แต่นั้น, ในลำดับนั้น. ตโต อยู่ต้นข้อความแปลว่า ในลำดับนั้นอยู่ ในเลขใน แปลว่า ในภายหลัง ตโต อยู่ กับ ปฎฺฐาย เป็นต้น เป็นวิเสสสัพพนาม ( ต + โต ปัจ. ) ต้องเติม นามนาม เข้ามา.
  6. ทิยฑฺฒ ทิวฑฺฒ : (วิ.) ที่สองด้วยกึ่ง, ที่สองทั้งกึ่ง, หนึ่งกับครึ่ง, หนึ่งครึ่ง. วิ. อฑฺเฒน ทุติโย ทิยฑฺโฒ. ทิวฑฺโฒ แปลง ทุติย กับ อฑฺฒ เป็น ทิยฑฺฒ ทิวฑฺฒ รูปฯ ๓๙๕.
  7. ทุพภาสิตาปตฺติ : (อิต.) อาบัติทุพภาษสิต. ต้องอาบัตินี้ เพราะพูดล้อเล่น เย้าเล่น กับ อุปสัมบัน หรืออนุปสัมบัน กระทบวัตถุมีชาติเป็นต้น พูดเจาะตัวหรือเปรยก็ตาม.
  8. เทยฺย : (วิ.) อัน...พึงให้, อัน...ควรให้, พึงให้, ควรให้. วิ. ทาตพฺพนติ เทยฺยํ. อัน...ได้ให้ แล้ว. อัน...ย่อมให้, อัน...จักให้ง วิ. อทียิตฺถ ทียติ ทิยิสฺสตี วาติ เทยฺยํ. ทา ทาเน, ณฺย. แปลง ณฺย กับ อา ที ทา เป็น เอยฺย. รูปฯ ๕๔๐.
  9. ปเมยฺย : (วิ.) นับได้, ประมาณได้. ปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, โณฺย. แปลง ณฺย กับ อา เป็น เอยฺย.
  10. เปยฺย : (วิ.) อัน...พึงดื่ม, อัน...ควรดื่ม. วิ. ปาตพฺพํ ปิวิตพฺพํ วาติ เปยฺยํ. อัน..ได้ดื่มแล้ว, อัน...ดื่มอยู่, อัน...จักดื่ม. วิ. อปียตฺถ ปียติ ปียิสฺสตีติ เปยฺยํ. ปา ปาเน, โณฺยฺ แปลง อา กับ ณฺย ปัจ. เป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐.
  11. พลิปุฏฺฐ : (ปุ.) กา, นกกา. วิ. พลินา ปุฏฺโฐ ภโต แปลง ตฺ เป็น ฏฺฐ ลบ สฺ หรือแปลง ต กับ สฺ เป็น ฏฺฐ.
  12. ภพฺพ : (วิ.) ผู้ควรหลุดพ้น, อันเขาย่อมเป็น, เหมาะ, ควร, ชอบ, มี, เป็น, จักมี, จักเป็น, ดี, งาม. วิ. สมควร, ภูยเตติ ภพฺพํ. ภวนํ วา ภพฺพํ. ภู สตฺตายํ, โณฺย. แปลง ณฺย กับ อู ที่ ภู เป็น อพฺพ รูปฯ ๕๓๙ โมคฯ ลง ย ปัจ.
  13. มฆวนฺตุ : (ปุ.) มฆวัน มฆวา มฆวาน ท้าวมฆวาน มฆวะ เป็นชื่อของพระอินทร์ทุกคำ วิ. มหิตพฺพตฺตา มฆวา. มหฺ ปูชายํ, วนฺตุ, หสฺส โฆ. เป็น มฆวนฺตุ ลง สิปฐมา วิภัติ เอา นฺตุ กับ สิ เป็น อา สำเร็จรูปเป็น มฆวา.
  14. เมยฺย : (วิ.) อัน...พึงนับ, อัน...ได้นับแล้ว, อัน...ย่อมนับ, อัน...จักนับ. มา มาเน, ณฺย ปัจ. แปลง ณฺย กับ อา ที่สุดธาตุเป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐.
  15. สทฺธึ : อ. กับ
  16. สม : (อัพ. นิบาต) พร้อม, กับ.
  17. สุวิญฺเญยฺย : (วิ.) อัน...พึงรู้ได้โดยง่าย, อัน...พึงรู้แจ้งได้โดยง่าย. ณยฺ ปัจ. แปลง ณฺย กับ อา เป็น เอยฺย.
  18. เหยฺย : (วิ.) ควรละ, พึงละ. หา จาเค, โ ณฺย. แปลง ย กับ อา เป็น เอยฺย.
  19. อฑฺฒกุสิ : (นปุ.) อัฑฒกุสิชื่อเส้นคั่นดุจคันนาขวางของกระทงจีวรซึ่งอยู่ระหว่างมณฑล กับ อัฑฒมณฑล.
  20. อฑฺฒติยอฑฺฒเตยฺย : (วิ.) ที่สามด้วยกึ่ง, สองกับครึ่ง, สองครึ่ง, สองกึ่ง. แปลง อฑฺฒ กับ ตติย เป็น อฑฺฒติยอฑฺฒเตยฺยรูป ฯ ๓๙๕.โมค ฯสมาสกัณฑ์๑๐๕แปลง ตติย เป็น ติย. เป็น ตติยาตัป.
  21. อฑฺฒติย อฑฺฒเตยฺย : (วิ.) ที่สามด้วยกึ่ง, สองกับครึ่ง, สองครึ่ง, สองกึ่ง. แปลง อฑฺฒ กับ ตติย เป็น อฑฺฒติย อฑฺฒเตยฺย รูป ฯ ๓๙๕. โมค ฯ สมาสกัณฑ์ ๑๐๕ แปลง ตติย เป็น ติย. เป็น ตติยาตัป.
  22. โอฑฺเฑติ : ก. วาง (กับ) ดัก, ทอด, เหวี่ยง (แห)
  23. กปฺปิยานุโลม : นป. ความที่เข้ากันได้กับกฎ, การอนุโลมตามกฎ
  24. อสุญฺญกปฺป : (ปุ.) กับไม่ว่าง, กัลป์ไม่ว่าง.อสุญกัปอสุญกัลป์(กัปที่ไม่ว่างจากพระศาสนา).
  25. อาสาฬฺหปูชา : (อิต.) การบูชาในเดือนแปด วิ. อาสาฬฺหสฺมึ ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาในวันกลางเดือนแปด วิ. อาสาฬฺห- ปุณฺณมาย ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาเพื่อระลึกถึงเหตุพิเศษ (สำคัญ) ของ พระพุทธศาสนาอันเกิดขึ้นในวันกลาง เดือนแปด. วิ. อาสาฬฺหปุณฺณมาย อุปฺปนฺนสฺส พุทฺธสาสนวิเสสการณสฺส อนุสฺสรณสฺส ปูชา อาสาฬฺหปูชา. วัน อาสาฬหบูชา เป็นวันสำคัญของชาวพุทธ มีการทำบุญตักบาตร ฟังเทศน์และเวียน เทียน เดินปทักษิณปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน สามรอบ ตรงกับวันกลางเดือน ๘ ถ้าปีใด มีอธิกามาส ก็ตรงกับวันกลางเดือน ๘ หลัง มีความสำคัญคือ เป็นวันที่พระพุทธองค์ ทรงแสดงปฐมเทศนา คือธัมมจักกัปป- วัตตนสูตร โปรดพระปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิป ตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี นับ แต่ตรัสรู้แล้วได้ ๖๐ วัน เป็นวันที่จักร (ล้อ) คือธรรมได้หมุนไปในโลก เป็นวันที่ พระอริยสงฆ์เกิดขึ้นเป็นองค์แรกเป็นวันที่ รัตนะมีครบ ๓ เป็นพระรัตนตรัย.
  26. กฏจฺฉุ : (ปุ.) จวัก ตวัก ของคำนี้เป็นชื่อของ เครื่องใช้สำหรับตักข้าวหรือแกง ทำด้วย กะลามะพร้าว มีด้ามไม้ยาวคล้ายทัพพี เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าจ่า หรือกระจ่า, ทัพพี, ทรพี, ช้อน, ถ้วย. กฏฺ คติยํ, ฉุ, ทฺวิตฺตํ กฏจฺฉุ ที่มาคู่กับ ทพฺพิ ควรแปล กฏจฺฉุ ว่า ช้อน หรือ ถ้วย.
  27. กฐินรชฺชุ : อิต. เชือกที่ใช้ดึงผ้ากฐินกับไม้สะดึง
  28. กนกรส : ป. แร่ชนิดหนึ่งมีสารหนูกับกำมะถันใช้ทำสีเหลือง
  29. กปฺปลตา : อิต. เครือเถาเหมือนกับต้นกัลปพฤกษ์
  30. กพฺพร : (ปุ.) ทูบ ชื่อไม้แม่แคร่เกวียนที่ยื่น ออกไปติดกับแอก, หัวเกวียน. วิ. กํปฐวึ วุโนติ ฉาทยตีติ กุพฺพโร. กุปุพฺโพ, วุ สํวรเณ, โร อสฺสตฺตํ, วสฺส โพ (แปลง อุ ที่ วุ เป็น อ แปลง ว เป็น พ), พฺสํโยโค.
  31. กมฺมชรูป กมฺมชฺชรูป : (นปุ.) รูปอันเกิดแต่ กรรม, กัมมชรูป กัมมัชชรูป คือรูปที่ กรรมสร้าง มองด้วยตาเนื้อไม่เห็น เกิด พร้อมกับปฏิสนธิจิต เพราะจิตยังอาศัยรูป นี้อยู่ และเกิดดับเป็นสันตติ จนถึงจุติจิต (มรณสันนวิถี). ส. กรฺมชรูป.
  32. กรุณาฌาน : นป. การเพ่งอันเกี่ยวกับความกรุณา
  33. กลฺยาณมิตฺตตา : อิต. ความเป็นผู้มีมิตรดี; การคบค้าสมาคมกับคนดี
  34. กาปญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันคน ควรกรุณา, ความเป็นแห่งคนผู้ควรสงสาร. กปณ ศัพท์ ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ทีฆะต้น ศัพท์ ลบ อ ที ณ ด้วยอำนาจ ปัจ. ได้รูป เป็น ณฺ ลบ ณฺ ของปัจ. เหลือ ย รวมกับ ณฺ ที่สุดศัพท์ เป็น ณฺย แปลง ณฺย เป็น ญฺญ.
  35. กามโกฏฐาส : ป. ส่วนประกอบของกาม, หมวดธรรมที่เกี่ยวกับเรื่องกาม
  36. กายูปค : ค. อันเข้าไปสู่กาย, อันอาศัยกาย, ซึ่งติดอยู่กับกาย
  37. กาลิก : (วิ.) ประกอบด้วยเวลา, ประกอบใน เวลา, เกี่ยวกับเวลา, ติดกับเวลา.
  38. กิ : (วิ.) เช่นกับ, เช่นกัน, คล้าย, เสมอ, เหมือน. กิ เวลมฺเพ, อ.
  39. กุทฺรุส กุทฺรุสก กุทรูส : (ปุ.) กับแก้, หญ้ากับ แก้. ชื่อไม้ล้มลุกชนิดหนึ่งใช้เป็นผัก. วิ. โกรํ รุธิรํ ทุสฺสตีติ กุทฺรุโส. โกรปุพฺโพ, ทุสฺ อปฺปีติยํ, อ, วณฺณปริยาโย, โอสฺสุตฺตํ. โกร+ทุสฺ+อ แปลง โอ เป็น อุ แล้วเปลี่ยน อักษรคือเอา ทฺ ไว้หน้า ร ศัพท์หลังทีฆะ.
  40. กุมารปญฺห, - หา : ป., อิต. กุมารปัญหา, ปัญหาสำหรับเด็ก, ปัญหาที่ผูกขึ้นพอเหมาะกับภูมิปัญญาของเด็ก
  41. กุลปุตฺต : (ปุ.) บุตรแห่งตระกูล, ลูกชายผู้มี ตระกูล. มีนัยเดียวกันกับ กุลธีตุ.
  42. กุลิก : ค. เป็นไปกับด้วยตระกูล, ซึ่งเนื่องด้วยตระกูล, อันเป็นของตระกูล
  43. กุลูปก, - ปค : ค. ผู้เข้าไปอาศัยตระกูล, ผู้เข้าถึงตระกูล, คุ้นเคยกับตระกูล
  44. กุสลเจตสิก : (วิ.) (ธรรม อารมณ์) อันเกิดกับจิตที่เป็นอกุศล.
  45. กุสา : (อิต.) เชือกที่รัดจมูกม้ากับบังเหียน. กุสฺ สิเลสเน, อ, อิตฺถิยํ อา. ส.กุศ.
  46. โกธุปายาส : ป. การประสบกับความโกรธแค้น, ความคับแค้นด้วยสามารถแห่งความโกรธ, ความคับอกคับใจ
  47. โกลสมฺปาก : ค. ซึ่งให้สุกกับด้วย (น้ำคั้น) ผลพุทรา, ซึ่งเคี่ยวหรือกวนกับ (น้ำคั้น) ผลพุทรา
  48. ขายติ : ก. ปรากฏว่า, คล้ายกับว่า, ประหนึ่งว่า; กล่าวว่า, เรียกว่า
  49. เขตฺตูปม : ค. ซึ่งอุปมาด้วยนาหรือสวน, เปรียบกับนาหรือสวน
  50. คณสงฺคนิกา : อิต. ความปรารถนาจะอยู่กับหมู่คณะ
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-336

(0.0547 sec)