กถน : (นปุ.) อันกล่าว, การกล่าว, การพูด, การอธิบาย. กถฺ วจเน, ยุ. ส. กถน.
ชปน ชปฺปน : (นปุ.) การกล่าว, การร่าย, การกระซิบ, ความปรารถนา. ชปฺ ชปฺป วจเน มานเส จ, ยุ.
ทานกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งทาน, ถ้อยคำกล่าวถึทาน, การกล่าว ถึงทาน.
เทผ : (ปุ.) อันกล่าว, การกล่าว, คำกล่าว, การรบ, การนินทา, คำนินทา, คำติเตียน, การเบียดเบียน, การถือเอา. ทิผฺ กถนยุทฺธ- นินฺทาหึสาทาเนสุ, โณ.
เทวน : (นปุ.) การกล่าว, การพูด, คำกล่าว, คำพูด. เทวุ วจเน. ยุ.
นานาวาท : (ปุ.) การกล่าวต่างกัน, การกล่าว ต่างๆกัน.
นิคท : (ปุ.) อันกล่าว, การกล่าว, โวหาร (คำ พูด). นิปุพฺโพ, คทฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, อ. ส. นิคท.
นินฺทา : (อิต.) การกล่าวติเตียน, การกล่าว โทษ, ความติเตียน, คำติเตียน. นิทิ กุจฺฉาย์, อ. ส. นินฺทา.
ปเวทน : นป. การประกาศ, การบอก, การกล่าว, การแจ้งให้ทราบ
ภณน : (นปุ.) การออกเสียง, การกล่าว, การพูด, การบอก. ภณฺ สทฺเท, อ, ยุ . ศัพท์ที่ ๒ แปลง ณ เป็น น.
ภณ ภน : (ปุ.?) การออกเสียง, การกล่าว, การพูด, การบอก. ภณฺ สทฺเท, อ, ยุ . ศัพท์ที่ ๒ แปลง ณ เป็น น.
ภสฺส : (นปุ.) ถ้อยคำ, คำกล่าว, การกล่าว, การพูด. ภสฺส วจเน, อ.
ภาณ : (นปุ.) การบอก, การกล่าว, การพูด, การสวด. ภณฺ สทฺเท, โณ.
ภาสน : (นปุ.) อันกล่าว, ฯลฯ, การกล่าว, ฯลฯ, คำกล่าว, ฯลฯ, ภาสน์ ภาษณ์ (การพูด).
วจ : ป., นป. คำพูด, การกล่าว
วทน : นป. การกล่าว; หน้า, ปาก
วาจน : นป. การกล่าว, การสวด, การอ่าน
วาจา : อิต. การกล่าว, คำพูด
วาท : ป. การกล่าว, คำพูด, ความเห็น
โวหาร : ก. การกล่าว, การเรียก
อกฺขาน : (นปุ.) การบอก, การกล่าว, การแสดง, การชี้แจง, การสวด, เรื่อง, นิทาน, การเล่านิทาน, เสภา, อาขยาน (บทท่องจำ).อาปุพฺโพ, ขา ปกถเน, ยุ. ส. อาขฺยาน
อภิชปฺปน : นป. ๑. ความอยาก, ความปรารถนา;
๒. การกล่าว
อภิหิต : ๑. นป. คำพูด, วาจา, การกล่าว ;
๒. กิต. ได้กล่าวแล้ว, ได้พูดแล้ว
อาขฺยาน : (นปุ.) การกล่าว, การท่อง ส. อาขยาน
อาลปน : (นปุ.) การร้องเรียก, การบอกเล่า, การกล่าว, การพูด, การสนทนา, คำทัก, คำร้องเรียก, คำกล่าวโดยทำต่อหน้า, การกล่าวโดยทำต่อหน้า, วิ.อภิมุขํกตฺวาลปนํอาลปนํ.ส.อาลปน.
อุตฺต : ๑. ป. การกล่าว, การเปล่งออกมา;
๒. กิต. กล่าวแล้ว
อุทีรณ : นป. การเปล่ง, การกล่าว
อุปวาท : (ปุ.) การเข้าไปว่าร้าย, การกล่าว โทษ. วิ. โทสกฺขาเณน วทนํ อุปวาโท. อุปปุพฺโพ, วทฺ วจเน, โณ.