ปริมาณ : นป. การนับ, การกะ, การกำหนด
การก : (ปุ.) ผ้ากรองน้ำ, คนผู้ทำ. ทาง ไวยากรณ์ การกมี ๗ มีกัตตุการกเป็นต้น. ส. การก ผู้ทำ.
กตฺตุการก : (ปุ.) กัตตุการก ชื่อตัวประธาน ของกัตตุวาจก.
กรณการก : (ปุ.) กรณการก ชื่อของบทนาม นามที่ประกอบด้วยตติยาวิภัติ
กปฺปิยการก : (ปุ.) กัปปิยการพ ชื่อคนผู้ทำ ของที่ไม่สมควรแก่สมณะให้เป็นของที่ สมควรแก่สมณะ, ผู้ปฏิบัติพระ, ลูกศิษย์พระ.
กสิกร กสิการ กสิการก : (ปุ.) คนผู้ทำการไถ, คนผู้ทำการเพาะปลูก, ชาวนา, ชาวไร่.
การิกา : (อิต.) การทำ, ความพอใจ, ปัชชะ (ฉันท์). วิ. กรณํ กาโร, โส เอว การิกา. ณิก ปัจ. สกัด.
การุก : (วิ.) ผู้ทำโดยปกติ วิ. กโรติ สีเลนาติ การุโก. ผู้มีปกติทำ วิ. กรณสีโล การุโก. ณุก ปัจ. กัจฯ ๕๓๖.
กูฏฏฺฏการก : ป. ผู้ฉ้อโกง, ผู้สร้างคดีโกง
โกสการก : ป. ตัวไหม
คหการก : ป. ผู้สร้างเรือน
คหการ คหการก : (ปุ.) นายช่างผู้ทำเรือน, ช่าง ปลูกบ้าน.
จปุจปุการก : อ. ทำเสียงดังจุ๊บๆ จั๊บๆ (ขณะกินหรือดื่ม)
ปตฺติการก : (ปุ.) ทหารราบ, กองเดินเท้า.
เปสุณการก : ค. ผู้ทำการส่อเสียด
พลิการก : ค. ผู้กระทำพลีกรรม, ผู้ถวายเครื่องสังเวย
พุทฺธกร, พุทฺธการก : ค. (ธรรม) ที่ทำให้เป็นพระพุทธเจ้า
รถการก : ป. ชื่อสระใหญ่
สปฺปายการก : (ปุ.) บุรุษพยาบาล
อคฺฆการก : ป. ผู้คิดราคา
อวคณฺฑการก : ค. ซึ่งทำแก้มตุ่ยๆ
อาการก : นป. ลักษณะ, ท่าทาง, มรรยาท, อาการ, เหตุ
อุปการก : (ปุ.) คนผู้ทำการอุดหนุน, ฯลฯ. มิตรมีอุปการะ.
กญฺญชปฺปน : นป. การกระซิบ
กฐินตฺถาร : ป. การกรานกฐิน, การขึงไม้สะดึง คือเอาผ้าที่จะเย็บเป็นจีวรขึงที่ไม้สะดึงและทำจีวรให้สำเร็จ, การทำจีวรให้สำเร็จด้วยประการนั้นเรียกว่าการกรานกฐิน
กณฺณจาลน : นป. การกระดิกหู
กณฺณชปน : (นปุ.) การพูดที่หู, การกระซิบที่หู (การทำให้เขาแตกกัน). กณฺณ+ชปฺ ธาตุ ยุ ปัจ.
กต : ๑. นป. สิ่งที่ทำแล้ว, การกระทำ;
๒. กิต. ทำแล้ว, ประกอบแล้ว, สร้างแล้ว, จัดแจงแล้ว
กมฺมกริยาทสฺสน : นป. ความเห็นในการกระทำกรรม, ทัศนะในการทำงาน
กมฺมชาต : นป. สิ่งที่เกิดแต่การกระทำ
กมฺมนิมิตฺต : นป. กรรมนิมิต, เครื่องหมายแห่งการกระทำ
กมฺมวาท : ป. ความเห็นว่ากรรมคือการกระทำมีอยู่
กมฺมิก,กมฺมี : ป. ผู้กระทำ, ผู้ดูแล; การกระทำ
กรณวิภตฺติ : อิต. กรณการก, ตติยาวิภัตติ
กลฺยาณกมฺม : นป. กัลยาณกรรม, กรรมหรือการกระทำที่ดีงาม
กายจลน : (นปุ.) การยังกายให้ไหว, การกระดิกกาย, การไหวกาย.
การกสงฺฆ : (ปุ.) สงฆ์ผู้ทำ, สงฆ์ผู้ทำกิจทาง พระศาสนา, การกสงฆ์. สงฆ์มีจำนวน ต่าง ๆ กัน ประชุมพร้อมเพรียงกันทำ การต่าง ๆ มีสังคายนาเป็นต้น เรียกว่า การกสงฆ์.
กิพฺพิส, กิพฺพิสก : นป. อกุศล, โทษ, การกระทำผิด
กิริย : นป., กริยา, กิริยา อิต. กิริยา, กรรม, การกระทำ
กิริยตา : อิต. ความเป็นกิริยา (อาการ), สภาพของกรรมที่สร้างขึ้น, การกระทำ
กุลทูสกกมฺม : (นปุ.) การกระทำของภิกษุผู้ประ- ทุษร้ายตระกูล มี วิ. ดังนี้. ทุ. ตัป. กุลสฺส ทูสโก กุลทูสโก (ภิกฺขุ). วิเสสนบุพ. กัม. กุลทูสกภิกฺขุโน กมฺมํ กุลทูสกกมฺมํ. แปล ว่า การกระทำของบุคคลผู้ประทุษร้าย ตระกูลบ้าง.
คชฺชน : (นปุ.) การร้อง, การกระหึม, การคำรน, การคำราม, เสียงร้อง (เสียงฟ้า), ฯลฯ, ฟ้าร้อง. คชฺชฺ สทฺเท, ยุ.
ฆฏฺฏน : (นปุ.) การไหว, การสั่น, การรัว, การบุ, การเคาะ, การแคะ, การงัด, การกระทบ. ฆฏฺ ฆฏิ วา จลนฆฏฺฏเนสุ, ยุ.
จิรกิริยา : อิต. การกระทำให้ชักช้า, ความเฉื่อยชา
ชคฺคน : (นปุ.) การกวาด, การเช็ด, การถู, การทำความสะอาด. มชฺชฺ สํสุทฺธิยํ, ยุ. แปลง ม เป็น ค แล้วแปลง ค เป็น ช แปลง ชฺช ท้ายธาตุเป็น คฺค แปลง ยุ เป็น อน.
ชนนฺติก : นป. การกระซิบความลับ
ชปน ชปฺปน : (นปุ.) การกล่าว, การร่าย, การกระซิบ, ความปรารถนา. ชปฺ ชปฺป วจเน มานเส จ, ยุ.
ชิวฺหาสมฺผสฺส : ป. การกระทบด้วยลิ้น, ความสัมผัสทางลิ้น
เชฏฺฐาปจายิกกมฺม : (นปุ.) การกระทำของบุคคลผู้ยำเกรงแก่บุคคลผู้เจริญที่สุด, การทำของบุคคลผู้ประพฤติอ่อนน้อมแด่ผู้ ใหญ่.
ทฬฺหึกมฺม, - กรณ : นป. การกระทำให้มั่น, การทำให้มั่นคงแข็งแรง