การ : (วิ.) ผู้ทำ. กรฺ กรเณ, โณ.
การา : (อิต.) เรือนจำ, ตะราง, ที่คุมขังนักโทษ. วิ. กโรติ อตฺราติ การา. กรฺ หึสายํ, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ.
การเภทก : (ปุ.) นักโทษแหกคุก. การา (เรือน จำ) + เภทก. รัสสะ อา เป็น อ.
การทีป : (ปุ.) เกาะแห่งไม้หมากเม่า, เกาะ ไม้หมากเม่า.
การเวลฺล : (ปุ.) ผักโหม.
การเวล, - เวลฺล : ป. ผักโหม, ผักไห่
จินฺตนาการ : (ปุ.) คลองแห่งความคิด, อาการ คือความคิด, การสร้างภาพขึ้นในใจ วิ. จินฺตนายํ ภาวํ อุกาโร ( การทำขึ้น การ สร้างขึ้น ) จินฺตนากาโร.
กุฏีการ : ป. การสร้างกุฎี
ครุการ : ป. การเคารพ, การยกย่อง
จิตฺติการ, - ตีการ : ป. การทำความยำเกรง, การเคารพนับถือ, การยกย่อง, การให้เกียรติ
ติรกฺการ : (ปุ.) การทำให้ต่ำ, ฯลฯ, การดูแคลน, การดูหมิ่น, การดูถูก, ความดูแคลน, ฯลฯ. ส. ติรสฺการ.
ติโรกฺการ : (ปุ.) การทำให้ต่ำ, ฯลฯ. ดู ติรกฺการ. ติรปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, โณ แปลง อ ที่ ร เป็น โอ ซ้อน กฺ หรือ วิ. ติโรชานกรณํ ติโรกฺกาโร.
ทานาธิการ : ป. หน้าที่รับผิดชอบในการบริจาคทาน, การจัดการในเรื่องการให้ทาน
นมกฺการ : นป. การกระทำความนอบน้อม, การไหว้
นมการ นมกฺการ : (ปุ.) การทำซึ่งการน้อม, ฯลฯ, นมัสการ. วิ. นโมกรณํ นมกาโร นมกฺการโร วา.
นิการ : ป. การรับใช้, บริการ, ถ่อมตน
ปจฺจยาการ : ป. อาการแห่งเหตุ, การบังเกิดขึ้นแห่งเหตุ, การอาศัยกันเกิดขึ้น
ปรการ : ป. การกระทำของผู้อื่น, การสร้างสรรค์โดยผู้อื่น
ปาการปริกฺเขป : ป. การล้อมด้วยกำแพง, รั้ว
พนฺธนการ : (ปุ.) การจองจำ.
พลกฺการ : (ปุ.) การกระทำซึ่งกำลัง, การกระทำด้วยกำลัง, การข่มเหง, ความข่มเหง, พลการ (ใช้อำนาจบังคับตามอำเภอใจ).
ภิงฺการ ภิงฺคาร : (ปุ.) คนทีน้ำ, คนโทน้ำ, เต้า (หม้อน้ำ), น้ำเต้า, เต้าน้ำ, เต้าน้ำทอง, หม้อน้ำ, ภาชนะทอง. วิ. ภรติ อุทกมิติ ภิงฺการโร. ภรฺ ภรเณ ธารเณ จ, อาโร. แปลง ภรฺ เป็น ภึก.
มนการ มนกฺการ : (ปุ.) อันกระทำไว้ในใจ, การกระ ทำไว้ในใจ, การตั้งใจ, ความตั้งใจ. วิ. ภวงฺคมนโต วิสทิสํ มนํ กโรตีติ มนการโร. มนสฺมึ วา กาโร มนกาโร ศัพท์หลังซ้อน กฺ.
มายาการ : (ปุ.) คนผู้ทำมารยา, คนเจ้ามารยา, คนเจ้าเล่ห์, คนเล่นกล, คนผู้แสดงการขบขัน, คนเล่นตลก, คนตลก, จำอวด.
สกฺการ : ป. การเคารพนับถือ, เครื่องบูชา
หิกฺการ : (ปุ.) การสะอึก. หิกฺกฺ อพฺยตฺตสทฺเท, อาโร, อ. อิตถิยํ อา. ส. หิกฺกา.
อนฺธการ : (ปุ.) กาลผู้กระทำซึ่งมืด, สภาพผู้กระทำซึ่งมืด, ความมืดทำซึ่งความเป็นผู้บอด, ความมืด, ความมืดมัว, ความเขลา, วิ.อนฺธํหตทิฎฺฐิสตฺติกํโลกํกโรตีติอนฺธกาโร.ส. อนฺธการ.
อภินนฺทนาการ : (ปุ.) การทำด้วยความยินดียิ่ง, ความยินดียิ่ง.คำแปลหลังนี้การ เป็นศัพท์สกัด.
อภิสกฺการ : ป. สักการะยิ่ง, การบูชายิ่ง
อมนสิการ : ป. การไม่ทำไว้ในใจ, การไม่ตั้งใจ
อมนสิการพหุลีการ : ป. การไม่อบรมให้มีมากในใจ
อลการอลงฺการ : (ปุ.) การประดับ, วิ. อลํ วิภูส-ณํกรียเตติอลํกาโร.อลงฺกาโรวา.ณ ปัจ.ส. อลงฺการ.
อลงฺการ : ป. การประดับตกแต่ง, เครื่องประดับ
อวคณฺฑการ : ป. การทำแก้มตุ่ยๆ
อหการอหงฺการ : (ปุ.) ความถือตัว, ความทะนงตัว, ความไว้ตัว, ความไว้ยศ, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความจองหอง, ความถือเรา, อติมานะ, อภิมานะ. วิ. อหมิติอตฺตานํกโรติ เยน โสอหํกาโรอหงฺกาโรวา.อหํปุพฺโพ, กรฺกรเณ, โณ.อภิฯลงอปัจส.อหงฺการ.
อหงฺการ : ป. การถือตัวเป็นใหญ่, การทะนงตัว
อุฏฺฐา การ : (ปุ.) การลุกขึ้น.
โอการ : (ปุ.) การทำต่ำ, การทำลามก, การทำ เลวทราม. โอปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, โณ.
กจฺจิการ : (ปุ.) ต้นซาก, ใบซาก.
กฏฺฐ การ : (ปุ.) ช่างไม้ วิ. กฏฺฐํ กโรตีติ กฏฺฐ กาโร. ณ ปัจ. กฏฺฐ าริ (ปุ.อิต.) ผึ่ง ชื่อเครื่องมือสำหรับถาก ไม้ชนิดหนึ่ง รูปคล้ายจอบ ใส่ด้ามยาว สำหรับถือถาก ใบหนากว่าจอบ แต่โค้งงอ มาทางผู้ถือด้าม.
กณฺณิการ : ป. ไม้กรรณิการ์; ฝักบัว; กลิ่นบัว
กณิการ กณฺณิการ : (ปุ.) กรรณิการ์, กัณณิ การ์. วิ. อคนฺธปุปฺผตาย อตฺตานํ กณิฏฺฐํ กโรตีติ กณิกาโร กณฺณิกาโร วา. กณิฏฺฐปุพฺโพ กรฺ กรเณ, โณ, ฏฺฐโลโป. ศัพท์หลังแปลง ณ เป็น ณฺณ.
กพลิงฺการ : ป. ก้อนข้าว, คำข้าว
กมฺปนาการปตฺต กมฺปนาการปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึง แล้วซึ่งอาการคือความหวั่นไหว.
กสิกร กสิการ กสิการก : (ปุ.) คนผู้ทำการไถ, คนผู้ทำการเพาะปลูก, ชาวนา, ชาวไร่.
กามการ :
ป., นป. ดู กามกร
การี : (วิ.) ผู้ควรเพื่ออันทำ วิ. อวสฺสํ เม กมฺมํ กาตํ ยุตฺโตสีติ การี. ณี ปัจ. ส. การิ ศิลปิน, ช่าง.