ทิตฺต : (วิ.) สวยงาม, สว่าง, กระจ่าง, ขาว, รุ่งเรือง, ลุกโพลง, ร้อน, เย่อหยิ่ง, ไว้ตัว. ทิปฺ ทิตฺติยํ, โต.
อาทิปฺปติ (อาทีปติ) : ก. ลุก, ไหม้, ร้อน, ส่องสว่าง
กฏุกวาจา : (อิต.) คำรุนแรง, ฯลฯ, คำเผ็ด ร้อน.
กาผิ : (อิต.) กาแฟ. กปุ สามตฺถิเย, ณิ. แปลง ป เป็น ผ.
โผฏฺฐพฺพ : (นปุ.) อารมณ์อันบุคคลพึงถูกต้อง, อารมณ์ที่มาถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่ถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่ถูกต้องได้ด้วยกาย. สิ่งที่เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ละเอียด หยาบ ซึ่งมากระทบกายกระทบผิวกาย เรียกว่า โผฏฐัพพะทั้งสิ้น. ผุสฺ สมฺผสฺเส, ตพฺโพ, สสฺส โฏ, ตสฺส โฐ.
อุณฺห : (วิ.) อุ่น, อบอุ่น, ร้อน. ส. อุษฺณ.
กฏุ : ค. แหลมคม, เข้มงวด, เผ็ดร้อน, รุนแรง, เจ็บแสบ
กฏุก : ๑. นป., ป. ความเผ็ดร้อน, รสเปรี้ยว, รสขม, การบูน
๒. ค. แหลมคม, เข้มงวด, น่ากลัว, ขมขื่น, ร้ายแรง
กฏุกญฺจกตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มี จิตหดหู่โดยความเป็นจิตเผ็ดร้อน.
กฏุ กฏก : (วิ.) เผ็ด, เผ็ดร้อน, หยาบ, หยาบคาย, ดุ, ดุร้าย, ผิด, ไม่ควร, ไม่ สมควร. กฏฺ คติยํ, อุ. ศัพท์ หลัง ก สกัด แต่อภิฯ และฎีกาอภิฯ ลง ณฺวุ ปัจ แปลง ณวุ เป็น อก แล้ว ฏฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อุ. ส. กฏุ. กฏุ
กฏุกตฺต : นป. ความแหลมคม, ความเผ็ดร้อน, ความขมขื่น
กฏุกปฺผล : ๑. นป. ผลของพืชที่มีกลิ่นหอมชนิดหนึ่ง;
๒. ค. มีผลเผ็ดร้อน
กฏุล : ค. ประกอบด้วยสารเผ็ดร้อน, ปรุงด้วยของเผ็ดร้อน
กปฺปุร กปฺปูร : (ปุ. นปุ.) การบูร ชื่อต้นไม้ ชนิดหนึ่งมีกลิ่นฉุนและรสร้อน อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของตัวยาที่กลั่นมาจากต้นไม้ นั้นเป็นเกล็ดสีขาวคล้ายพิมเสน.วิ. อตฺตโน คนฺเธน อญฺญํ คนฺธํ กปตีติ กปฺปูโร. กปฺ หึสายํ, อูโร, ทฺวิตฺตํ. กปฺปติ โรคาปนเย สมตฺเถตีติ วา กปฺปูโร. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กัจฯ ๖๗๐ เวสฯ ๗๙๕ ลง อุรปัจ. อภิฯวิ. ตุฏฺฐิอุปฺปาเทตุ กปฺปตีติ กปฺปูรํ. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กปุ ตกฺโกลคนฺเธ วา, อูโร. ชื่อของต้นไม้เป็น ปุ. ชื่อของเกล็ด ที่กลั่นมาจากต้นไม้นั้นเป็น นปุ. พิมเสนก็ แปล. ส. กรฺปูร.
กมฺมตปฺปน : นป. ความเดือดร้อนเพราะกรรม
กุกฺกุจฺจ : (นปุ.) ความรำคาญ, ความเดือดร้อน, ความสงสัย, ความรังเกียจ (ความรู้สึกสะ อิดสะเอียนในการทำความชั่ว). วิ. กุจฺฉิตํ กโรตีติ กุกฺกตํ. จิตฺตํ; ตํสมงฺคี วา, ตสฺส ภาโว วา กุกฺกุจฺจํ. กุจฺฉิตํ กุตํ กุกฺกุตํ. ตสฺส ภาโว กุกฺกุจฺจํ. กุกฺกุจฺจก
กุกฺกุล : (ปุ.) เถ้าร้อน, ถ่านร้อน, เถ้าสุม, เท่ารึง, เถ้ารึง เท่า เถ้าใช้ได้ทั้งสองคำ เถ้ารึงคือ เถ้าที่ไม่มีถ่านไฟ แต่ยังมีความร้อนอยู่. กุกฺกุ หตฺถํ ลุนาตีติ กุกฺกุโล. กุกฺกุปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อ, อุโลโป.
กุฏฐิต : ค. ร้อน, เดือดพล่าน, ละลาย
กุลุส : (นปุ.) โทษ, ความชั่ว, ความเดือดร้อน, บาป. ดู กลุส.
ขิชฺชติ : ก. เดือดร้อน, ระทมทุกข์
คิมฺห : (ปุ.) เดือนเกิดแล้วในฤดูร้อน วิ. คิเมฺห ชาโต คิโมฺห. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. รุปฯ ๓๖๒.
คิมฺห, คิมฺหนฺต : ป., ค. ร้อน, ฤดูร้อน
คิมฺห คิมฺหาน คิมฺหนฺต คิมฺหนฺตอุตุ : (ปุ.) ฤดูร้อน, หน้าร้อน. วิ. คิรติปีฬยตีติ คิโมฺห. คิรฺ นิปฺปีฬเน, โม, รสฺส โห, วณฺณวิปริ- ยาโย. คจฺฉตีติ วา คิโมฺห. คมฺ คติยํ, อ, อสฺสิตฺตํ, มสฺส โห, นิคฺคหิตาคโม. คิมฺหาน ตั้ง คิรฺ ธาตุ มาน ปัจ. แปลง รฺ เป็น ห แล้ว เปลี่ยนอักษร.
คิมฺหาน : ป. ฤดูร้อน
คิมฺหิก : ค. มีความร้อน, อันมีในฤดูร้อน, เนื่องด้วยความร้อน
ฆมฺม : (วิ.) ร้อน, อบอุ่น. ฆรฺ เสจเน, รมฺโม. ลบ รฺ และลบตัวเองคือ ร หรือลง ม ปัจ. แปลง รฺ เป็น มฺ
ฆมฺมาภิตตฺต : (วิ.) อันความร้อนแผดเผาแล้ว.
ฆมฺมาภิภูต, - ภิตตฺต : ค. อันความร้อนแผดเผาแล้ว, ถูกแผดเผาแล้ว
จณฺฑาตป : (ปุ.) แดดร้อน, แดดจัด จณฺฑ+ อาตป.
ชวติ : ก. วิ่ง, แล่น, รีบเร่ง, รีบร้อน
โชติปาสาณ : ป. หินที่ทำให้เกิดความร้อนหรือแสงสว่าง
ฑห : (ปุ.) ความร้อน, โรคพิษ, โรคร้อน, โรค ร้อนใน. ฑหฺ ฑยฺหเน, อ.
ฑาห : (ปุ.) ความร้อน, ความเร่าร้อน, ความเดือดร้อน, ไฟ, ไข้พิษ, โรคพิษ, ฯลฯ. ฑหฺ+ณ ปัจ.
ตตฺตกปาล : (ปุ.) กระเบื้องอันไฟให้ร้อนแล้ว, กระเบื้องร้อน.
ตป : (ปุ.) ความเพียร เครื่องเผากิเลส, คุณ ธรรมอันยังกิเลสให้ร้อน, คุณธรรมอันยัง กิเลสให้เร่าร้อน (แห้ง), ความร้อน, ความสำรวม, ความเพียร, ธรรม, วัตร, พรต (ธรรมมีศีลเป็นต้น ความบำเพ็ญพรตเผา กิเลส), ศีล, ตบะ. วิ. กิเลเส ตาเปตีติ ตโป. ตปฺ ทาเห สนฺตาเป วา, อ. ส. ตปสฺ.
ตปฺปติ : ก. เผา, ไหม้, ส่องแสง, เดือดร้อน, ถูกทรมาน; อิ่มใจ, ยินดี
ตปฺปน : (นปุ.) ความเดือดร้อน, ความเร่าร้อน, ความแผดเผา. ตปฺ สนฺตาเป. ย ปัจ. ประ จำหมวดธาตุ ยุ ปัจ.
ตรติ : ก. ข้าม, ผ่าน, รีบร้อน
ตรมานรูป : ค. ผู้รีบร้อน
ตาป : (ปุ.) ความเจ็บ, ความรำคาญ, ความร้อน, ความเดือดร้อน, ความเร่าร้อน, ความแผดเผา. ตปฺ สนฺตาเป. โณ, อถวา, ธุปฺ สนฺตาเป. แปลง อุ เป็น อ ธ เป็น ต. ส. ตาป.
ตาปน : (นปุ.) การทรมาน, ความทรมาน, ความร้อน, ฯลฯ. ตปฺ สนฺปาเต, ยุ. การทำให้ตกใจ,ความสะดุ้ง,ฯลฯ.ตปฺ อุพฺเพเค. การทำให้พอใจ. ความอิ่มใจ. ตปุ ปีณเน. ส. ตาปน.
ติกฏุก :
นป., ค. ของเผ็ดร้อนสามอย่าง ดู กฏุก
เตชเต : ก. เสี้ยม, ลับ, ทำให้คม, แทง; ทำให้ร้อน
เตชวนฺตุ : ค. ผู้มีฤทธิ์, ผู้มีเดช, ก่อให้เกิดความร้อน, มีความร้อน
เตเชติ : ก. ทำให้ร้อน, เผา, ทำให้คม
ทพฺพิมุข, ทพฺพิมุขทฺวิช : ป. นกเงือก, นกชนิดหนึ่งมีปากแหลมคมอยู่ในเขตร้อน
ทวถุ : (ปุ.) ความร้อน, ความร้อนใน, ความกระหาย, ความกระหายน้ำ. ทวฺ ฑาเห, ทุ ปริตาเป วา, ถุ. รูปฯ ๖๔๕ วิ. ทเวน นิพฺพตฺโต ทวถุ ทวฺ ทวเน, ถุ. ส. ทวถุ.
ทวน : (นปุ.) ความร้อน, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
ทหณ ทหน : (ปุ.) การเผา,ความร้อน,ไฟ.ทหฺภสฺมีกรเณ,อ,ยุ.ส.ทหน.
ทาห : (ปุ.) ความร้อน, ความเร่าร้อน, ความกระวนกระวาย, ความเผา, ความไหม้, ความแผดเผา, ความเบียดเบียน. ทหฺ ภสฺมีกรเณ, โณ. ส. ทาห.