เวค : ป. ความเร็ว, กำลัง
สงฺคร : ป. การให้สินบน, กำลัง, กอง
อนุภาวอานุภาว : (ปุ.) อำนาจ, กำลัง, อนุภาพ, อานุภาพ (ความสง่า).ส. อนุภาว.
อนุภาว อานุภาว : (ปุ.) อำนาจ, กำลัง, อนุภาพ, อานุภาพ (ความสง่า). ส. อนุภาว.
อินฺทิย อินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่, ร่าง กาย, ร่างกายและจิตใจ, กำลัง, กำลังกาย, อำนาจ, ความรู้สึก, สติปัญญา, ประสาท, หน้าที่, อินทรีย์ (ความเป็นใหญ่ในกิจ นั้น ๆ). วิ. อินฺโท อตฺตา, ตสฺส ลิงฺคํ อินฺทิยํ อินฺทริยํ วา. อิย ปัจ. อินฺทติ ปรมิสฺสริยํ กโรตีติ วา อินฺทิริยํ. อิทิ ปรมิสฺสริเย, อิโย. ศัพท์หลังแปลง ท เป็น ทฺร. ส. อินฺทริย.
อีหามิค : (ปุ.) หมาป่า. ส. อีหามฤค. อุ (อัพ. อุปสรรค) ขึ้น, แยก, ออก, เว้น, ไม่, กำลัง, กล่าว, ประกาศ, อาจ, เลิศ. ลงใน อรรถแห่ง น บ้าง อุ. อุรพฺภ.
อิทฺธิพล : (นปุ.) กำลังแห่งความสำเร็จ, กำลัง อันยังผลให้สำเร็จ, อิทธิพล (กำลังอำนาจ). คำอิทธิพล ไทยใช้ทั้งในทางดีและทางเสีย ทางดี เช่น อิทธิพลของดวงดาว ทางเสีย เช่น ใช้อิทธิพลบังคับให้ยินยอม.
สามตฺถ สามตฺถิย : (ปุ.) ความอาจ, ความองอาจ, ความสามารถ, ความแข็งแรง, อำนาจ, กำลัง.
กมฺมพล : นป. กำลังแห่งกรรม, อำนาจของกรรม
กมฺมเวค : ป. กำลังแห่งกรรม, ความเร็วแห่งกรรม
กรุณาเวคสมุสฺสาหิตมานาส : (วิ.) ผู้มีฉันทะ มีในใจอันกำลังแห่งกรุณาอันให้อุตสาหะ พร้อมแล้ว. เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ส ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ฉ. ตัป. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
กายถาม : ป. กำลังกาย
กายบริหาร : (ปุ.) การรักษาร่างกาย, การดูแลร่างกาย. คำกายบริหาร ไทยใช้ในความหมายว่า การบำรุงร่างกาย การออกกำลัง เพื่อรักษาร่างกาย.
กายพล : นป. กำลังกาย, พลังกาย
กุฑุมล, - ก : ป. ดอกไม้ตูม, ดอกไม้ที่กำลังจะแย้มบาน
กุสุมิต : ค. มีดอก, กำลังผลิดอก, มีดอกบานสะพรั่ง
ขนฺติพล : (วิ.) ผู้มีกำลังอันบัณฑิตนับพร้อม แล้วว่าขันติ วิ. ขนฺติสํขาตํ พลํ อสฺส อตฺถีติ ขนฺติพโล. ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
โคตฺรภูญาณ : นป. ความรู้ที่กำลังพ้นเขตของปุถุชนและกำลังย่างขึ้นสู่เขตพระอริยเจ้า
จกฺขุทุพฺพล : (วิ.) ผู้มีจักษุมีกำลังอันโทษประ ทุษร้ายแล้ว, ผู้มีตาอ่อนแอ (ตาเสื่อมตา เสีย).
จิงฺคุลก : (ปุ.) กังหัน, ไม้กังหัน (สิ่งที่ประกอบ ด้วยใบพัด หมุนได้ด้วยกำลังลม). จิงฺคุลฺ ปริพฺภมเน, ณฺวุ.
ชงฺฆพล : นป. กำลังแข้ง
ชีวิตินฺทฺริย : นป. ชีวิตินทรีย์, ความเป็นใหญ่แห่งชีวิต, กำลังแห่งชีวิต, ความสำคัญแห่งชีวิต, อินทรีย์คือชีวิต
เตโชชย : (ปุ.) ความชนะด้วยกำลัง, ฯลฯ.
ถาม : (ปุ.) กำลัง, กำลังใจ, เรี่ยวแรง, ความแก่กล้า. วิ. ติฏฺฐนฺติ เอเตนาติ ถาโม. ฐา คตินิวุตฺติยํ, โม. ฐสฺส ถตฺตํ หรือ ตั้ง ถา ธาตุ ม ปัจ.
ถามก : ค. มีเรี่ยวแรง, มีกำลัง
ถามวนฺตุ : ค. ผู้มีเรี่ยวแรง, ผู้มีกำลัง
ทสพล : (ปุ.) พระทสพล พระนามของพระ พุทธเจ้าทั้งปวง อภิฯ วิ. ทานสีลขนฺตฺ- ยาทโย ฐานาฐานญฺญทาโย วา ทส พลานิ อสฺเสติ ทสพโล. รูปฯ ๓๓๗ วิ. ทส พลานิ อสฺสาติ ทสพโล (มีกำลังสิบ). ฉ พหุพ.
ทสพลจตุเวสารชฺชาทิสพฺพคุณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) (พระสัพพัญญุตาญาณ) อันประดับเฉพาะแล้วด้วยคุณทั้งปวงมีญาณแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีกำลังสิบและญาณคือ ความเป็นแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีความครั่นคร้ามไปปราศแล้วสี่เป็นต้น. เป็น ต. ตัป. มี ฉ. ตุล., ฉ.ตัป., ฉ. ตุล., ณฺยปัจ. ภาวตัท., ส.ทิคุ., อว.กัม., อ.ทวัน., วิเสสนบุพ. กัม. ฉ..ตุล. และ วิเสสนบุพ. กัม. เป็นภายใน. ลบ ญาณ ทั้งสองศัพท์.
ทาฐาพลี : ค. ผู้มีเขี้ยวเป็นกำลัง, ผู้มีกำลังอยู่ที่เขี้ยว (หมายถึงราชสีห์)
ทุพฺพล : (วิ.) มีกำลังอันโทษประทุษร้ายแล้ว, มีกำลังชั่ว, มีกำลังเสีย, มีกำลังทราม, ไม่มีกำลัง, ทรพล, ทรพล. ส. ทุรฺพล, ทุรฺพฺพล.
ทุพฺพลตฺต : นป., ทุพฺพลตา อิต. ความเป็นผู้มีกำลังทราม, ความมีกำลังน้อย, ความอ่อนแอ
ทุพฺพลภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่ง...ผู้มีกำลัง อันโทษประทุษร้ายแล้ว, ฯลฯ, ความเป็นคนทุรพล, ความเป็นผู้ทุรพล. วิ.ทุพฺพลสฺส ภาโว ทุพฺพลภาโว. ไทยใช้คำทุพพลภาพ ในความว่า ไม่มีกำลังที่จะประกอบการงาน ความเสื่อมถอยกำลัง อ่อนเพลียไม่สมประกอบ.
ทุพฺพลฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่ง...ผู้มีกำลังอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ฯลฯ. วิ. ทุพฺพลสฺส ภาโว ทุพฺพลฺยํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท.
นาคพล : นป., ค. กำลังแห่งช้าง; มีกำลังเท่ากับช้าง, มีกำลังเพียงดังกำลังแห่งช้าง
นิชฺฌาน : (นปุ.) การดู, การแลดู, การเห็น, การแพ่ง, การพินิจ, การพิจาร, ปัญญา อุ. นิชฺฌานพลา ปณฺฑิตา บัณฑิตท. มี ปัญญาเป็นกำลัง. นิปุพฺโพ, เฌ ฌาน- ญาเณสุ, ยุ. แปลง เอ เป็น อา.
นิทฺทายน : (นปุ.) การประพฤติซึ่งความหลับ (กำลังนอนหลับ), ความหลับ. นิทฺทา + อาย+ยุ ปัจ.
นิทฺทายนกาล : (ปุ.) กาล เป็นที่ประพฤติซึ่ง ความหลับ (เวลากำลังนอนหลับ).
ปฏิสงฺขานพล : นป. กำลังแห่งการพิจารณา, ธรรมที่เป็นกำลังคือการพิจารณา, อำนาจการพิจารณา
ปตนก : ค. ซึ่งมีอันจะต้องตกไป, ซึ่งกำลังจะร่วงหล่น
ปพล : ค. มีกำลังมาก, มีกำลังแข็งแรง, มีอำนาจ, สามารถ
ปสยฺห : อ. โดยอำนาจ, อย่างมีอำนาจ, อย่างมีกำลัง, โดยบังคับ
ปสหติ : ก. ใช้กำลังรุกราน, ข่มเหง, เบียดเบียน
ปหิต : ค. อันถูกส่งไปแล้ว; ตกลงใจ, ตั้งใจ, ซึ่งมีพลัง, มีกำลัง
ปุปฺผวตี : อิต. หญิงมีระดู, ผู้หญิงที่กำลังมีระดู
ปุริสถาม : ป. กำลังบุรุษ
พลก : ค. มีพละ, มีกำลัง
พลกฺการ : (ปุ.) การกระทำซึ่งกำลัง, การกระทำด้วยกำลัง, การข่มเหง, ความข่มเหง, พลการ (ใช้อำนาจบังคับตามอำเภอใจ).
พลกาย พลนิกาย : (ปุ.) หมู่แห่งกำลัง, หมู่แห่งพล, กองแห่งกำลัง, กองพล, กองทัพ, กองทัพบก.
พลขณฺฑ : (ปุ.) หมู่แห่งกำลัง, หมู่แห่งพล, กองแห่งกำลัง, กองทหาร, กองทัพ, พลขัณฑ์.
พลตา : อิต. ความมีกำลัง, ความมีอำนาจ