ทุคฺค : (นปุ.) ที่อัน...ไปได้โดยยาก, ความยาก, ช่องแคบ, กำแพง, ป้อม, คู, หอรบ, ห้วง น้ำ, หล่ม อุ. ปงฺคทุคฺค หล่มคือเปลือกตม. ทุกฺข+คมฺ+อ ปัจ. ลบ กฺข และ มฺ ซ้อน คฺ. ส. ทุรค.
ปาการ : ป. ป้อม, ปราการ, กำแพง
วรณ : นป. การป้องกัน, ป้อม, กำแพง
ภิตฺติ : (อิต.) ฝา, ฝาเรือน, กำแพง. ภิทิ ทฺวิธากรเณ, ติ.
กกฺกฎกยนฺตก : นป. บันไดมีขอที่ปลายสำหรับเกาะกำแพง
เกณิ : (อิต.) ภาษี, ส่วย.
ติโรคุฑฺฑ : นป. ภายนอกฝา, ภายนอกกำแพง
ติโรปาการ : (นปุ.) ภายนอกแห่งกำแพง, ภายนอกกำแพง, นอกกำแพง.
ทฬฺหปาการ : ค. ปราการมั่นคง, มีกำแพงแข็งแรง
นครูปการิกา : อิต. เมืองที่มีกำแพงล้อมรอบอย่างมั่นคง
ปาการปริกฺขิตฺต : ค. ซึ่งมีกำแพงล้อมรอบ
ปาการปริกฺเขป : ป. การล้อมด้วยกำแพง, รั้ว
ปาการิฏฺฐิกา : อิต. อิฐที่ก่อกำแพง
พลิ : (ปุ.) ภาษี, อากร (ค่าธรรมเนียมอย่างหนึ่งซึ่งรัฐบาลเรียกเก็บ). วิ. พลนฺติ อเนนาติ พลิ. ปาณเน, อิ.
พลิปฏิคฺคาหก : ค. ผู้รับเครื่องบูชา, ผู้รับพลีกรรม เช่น พวกพราหมณ์, ผู้เก็บภาษี
พลิปีฬิต : ค. ถูกเบียดเบียนด้วยภาษี, มีความเดือดร้อนเพราะถูกเก็บภาษี
พลิสาธก : ค. ผู้เก็บภาษี
พลิหรณ : นป. การรวบรวมภาษี, การเก็บภาษี
สิลาปาการ : ป. กำแพงหิน
สุงฺก : (ปุ. นปุ.) ภาษี, อากร คือค่าธรรมเนียมที่รัฐบาลเรียกเก็บจากสิ่งที่เกิดจากธรรมชาติหรือสิ่งที่ทำขึ้นเพื่อการค้า, ส่วย คือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงตามวีเรียกเก็บภาษีอากรสมัยโบราณ หรือเงินช่วยเหลือราชการที่กำหนดเรียกเก็บจากราษฎร สมัยก่อนชายที่ไม่ได้เป็นทหารจะต้องเสียส่วยให้รัฐบาลปีละ ๖ บาท. วิ. สํกติ เยน ตํ สุงฺกํ. สํก คมเน, อ.
สุงฺกฆาต : (ปุ.) สุงกฆาตะ ชื่ออวหาร (การลัก) ชนิดหนึ่ง คือการลักนำของผ่านด่านภาษี หรือของมากซ่อนเสียให้เห็นแต่น้อย.
สุงฺกฏฺฐาน : นป. ที่เสียภาษี
สุงฺกิก : ป. ผู้เก็บภาษี, ผู้ตรวจภาษี
อโยปาการ : ป. รั้วเหล็ก, กำแพงเหล็ก
อวิ : (ปุ.) แพะ, แกะ, อวฺรกฺขเณ, อิ.แปลว่าภูเขา, กำแพงบ้าง.
อายกมฺมิก : ป. ผู้รวบรวมผลประโยชน์, ผู้เก็บภาษี
อุปการิย : ป. แนวเชิงเทิน, เชิงกำแพง
ทุพภาสิตาปตฺติ : (อิต.) อาบัติทุพภาษสิต. ต้องอาบัตินี้ เพราะพูดล้อเล่น เย้าเล่น กับ อุปสัมบัน หรืออนุปสัมบัน กระทบวัตถุมีชาติเป็นต้น พูดเจาะตัวหรือเปรยก็ตาม.
สมฺภาสน : (นปุ.) การพูดกัน, การเจรจากัน, การเจรจาปราศรัย, การพูดโต้ตอบกัน, สัมภาษณ์(การพูดแลกเปลี่ยนความคิดกัน). สํปุพฺโพ, ภาสฺ วจเน, ยุ. ส. สมฺภาษณ.