กิล : (ปุ.) การผูก, การพัน, การรัด, การสาน. กิลฺ พนฺธเน, อ, ยุ.
กีล : (นปุ.) การผูก, การพัน, การมัด, การรัด, ความผูก, ฯลฯ, เครื่องผูก, ฯลฯ, หลัก, สลัก, หอก, ข้อศอก, ลิ่ม. กีลฺ พนฺธเน, อ. ส. กีล.
กิลเมติ : ก. ย่อมให้ลำบาก, ทำให้เหน็ดเหนื่อย
กล : (ปุ.) เสียงไม่ชัด (แต่เป็นที่ชอบใจ), เสียงอ่อน, เสียงวังเวง, เสียงดังวังเวง (ดนตรี). กลฺ สทฺเท กลิเล วา, อ. อภิฯ เป็น ไตรลิงค์. ส. กล.
อติกิลเมยฺย : ก. พึงลำบากยิ่ง, เหน็ดเหนื่อยยิ่ง
กิลญฺช : (ปุ.) เสื่อ, สาด, ลำแพน, เสื่อลำแพน, เสื่อหยาบ. กิลปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ, นิคฺคหิตาคโม.
กลวิก กลวึก กลวิงฺก กลวีก : (ปุ.) นกกระจอก. วิ. กลหํ รวตีติ กลวึโก. กลหปุพฺโพ, รุ สทฺเท, อิโก. ลบ ลห แปลง อุ เป็น อว รฺ เป็น ลฺ นิคคหิตอาคม. กํ สุขํ ลุนาตีติ วา กลวึโก. กปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อิโก. ศัพท์ต้นไม่ลงนิคคหิตอาคม ศัพท์หลัง ทีฆะ. ส. กลวิงฺก.
กลหล : (ปุ.) เสียงกึกก้อง, เสียงเซ็งแซ่, โกลาหล. กลปุพฺโพ, หลฺ วิเลขเณ, อ.
กลก กลงฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, ตำหนิ. ก มตฺตานํ ลํกยติ หีนํ กโรตีติ กลํโก กลงฺโก วา. กปุพฺโพ, ลํกฺ องฺเก, อ. ส. กลงฺก.
กลกล : ป. เสียงโกลาหล, เสียงเซ็งแซ่
กลติ : ก. เปล่งเสียงร้อง, ร้องออกมา
กลลมกฺขิต : ค. ซึ่งทาด้วยโคลนหรือตม, เปื้อนแล้วด้วยเปือกตม
กลลิก ( กลลิงฺก ) : ป. นกกระจอก
กลสี : (ปุ.) ตุ่ม, ไห, ถ้วย, หม้อน้ำ. ส. กลศิ.
กลหการก : ค. ผู้ทะเลาะ
กลหการณ : นป. เหตุแห่งการทะเลาะ
กลหน : (นปุ.) วจนะเป็นที่โต้เถียง, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
กลิ : (ปุ.) ความพ่ายแพ้, โทษ, ความชั่ว, บาป. วิ. กลียตีติ กลิ. กลฺ สํขฺยาเณ, อิ.
กุล : (นปุ.) หมู่แห่งชนผู้มีชาติอย่างเดียวกัน. กลฺ สํขฺยาเณ, อ, อสฺสุ.
กุลิ : (ปุ.) มือ. กุลฺ สนฺตาเน, อิ. ส. กุลิ.
กูล : (นปุ.) กอง, หมู่. กุลฺ พนฺธุมฺหิ, โณ.ส.กูล.
กงฺกล : ป., นป. โครงกระดูก, ร่าง, โซ่
กณฺฏกลตา : อิต. เครือเถาที่มีหนาม
กลงฺก (กลก) : ป. เครื่องหมาย, รอย, แผลเป็น, สนิม, การติเตียนของโลก
กากล : นป. สร้อยคอ
กิลิ : ๑. อ. “ดังกิลิๆ” ,
๒. อิต. เสียงที่ดัง ‘กิลิๆ’
กุลี : (ปุ.) คนมีตระกูล. กุล+อีปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
เกลิ : อิต. ความสนุกสนาน, การเล่นกีฬา
เกลิ เกฬิ : (นปุ.) ความเยาะเย้ย. กีฬฺ วิหาเร, ณิ.
โกล : (วิ.) เกิดในสกุล, เชื้อสายในสกุล, เกี่ยวใน สกุล. วิ. กุเล ชาโต โกลํ. กุเล นิยุตโต โกลํ, ณ ปัจ.
โกลิ : (ปุ.) มะดูก, หมากดูก, หมากเบา.
โกลี : (อิต.) ต้นพุทรา, ต้นกระเบา, ต้นมะดูก. วิ. สกณฺฏกตฺตา กุจฺฉิตํ ลาตีติ โกลี. กุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อี.
ตกฺกล : (นปุ.) หมาก, กระวาน พรรณไม้ชนิด หนึ่ง ในจำพวกขิง ข่า ใช้ผลปรุงอาหาร และทำยา, ยาง, ยางไม้, ยางรัก. ตกฺกฺ รุกฺขสิเลเส อโล รูปฯ ๖๕๙.
วกฺกล : น.,นป. เปลือกไม้, ผ้าที่ทำด้วยเปลือกไม้
อฏฺฐิกงฺกล : ป.โครงกระดูก
หงฺกร : (ปุ.) การรบพุ่ง, สงคราม. กลห+กร ลบ กล ลงนิคคหิตอาคม.
อกลฺล : (นปุ.) ความเจ็บไข้, ความไม่สบาย, โรค. วิ. น กลติ เยน ตํ อกลํ.ตเมวอกลฺลํ. กล. คติสํขฺยาเนสุ, โล สกตฺเถ, ณฺย วา.น บทหน้า กลฺ ธาตุ อ ปัจ.ลสกัด หรือ ณฺย ปัจ. แปลง ลฺย เป็นลฺล.
กก กงฺก : (ปุ.) นกอีลุ้ม, นกเหยี่ยวแดง, นกกระสา. กํกฺ โลลิเย, อ. เป็น กํกล กงฺกล โดยลง อล ปัจ. บ้าง. ส. กงฺก นกยาง พระยม.
กมฺมาส : (วิ.) หลายสี, ด่าง, พร้อย, ดำมอ ๆ.. วิ. กโล เอว มาโส กมฺมาโส. แปลง ล เป็น ม หรือ กลํ มสตีติ กมฺมาโส. กลปุพฺโพ, มสิ ปริมาเณ, โณ.
กรวิก กรวีก : (ปุ.) นกกรวิก, นกการวิก, นกการะเวก. วิ. กลํ รวตีติ กรวิโก. กลปุพฺโพ, รุ สทฺเท, ณิโก, อิโก วา, ลโลโป.
กเรริ : (ปุ.) กุ่ม, ไม้กุ่ม ชื่อต้นไม้ ใบออกจาก ต้น เป็นใบย่อย ๓ ใบ มีสองชนิดคือ กุ่ม น้ำ กุ่มบก. กลฺ สํขฺยาเณ, อีโร, ลสฺสโร. แปลง อี เป็น เอ อ ที่ ร เป็น อิ. แปลง เป็น อี เป็น กเรรี บ้าง.
กลตฺต กฬตฺต กลตฺร : (นปุ.) ภรรยา. กลฺ สงฺ ขฺยาเณ, ตปจฺจโย, ตฺรณฺปจฺจโย วา. สอง ศัพท์แรก แปลง ต เป็น ตฺต อภิฯ ฎีกาฯ และรูปฯ ลง อตฺต ปัจ. ศัพท์หลังลง ตฺรณฺ ปัจ. ลบ ณฺ. ส. กลตฺร.
กลภ กฬภ : (ปุ.) ช้างหนุ่ม, ช้างรุ่น, ลูกช้าง. วิ. กลียติ ปริมียติ วยสาติ กลโภ กฬโภ วา. กลฺ สงฺขฺยาเณ, อโภ. ส. กลภ.
กลฺย กลฺล : (นปุ.) อันนับ, การนับ. วิ. กลฺยเตติ กลฺยํ กลฺลํ วา. กลฺ สํขฺยา เณ, โย, โล วา. รูปฯ ๖๔๐.
กลฺยาณ : (วิ.) ดี. งาม, พะงา (งาม, สวย), เป็น ที่ชอบใจ, ชอบ, ไพเราะ, อ่อนหวาน. กลฺ สํขยาเณ, ยาโณ. ส. กลฺยาณ.
กลล : (นปุ.) กลละ กลลรูป ชื่อของการก่อตัว เริ่มแรกของสัตว์ คือเริ่มปฏิสนธิ เป็นรูป ครั้งแรกในครรภ์เป็นปรมาณู เล็กมาก วิ. กลํ ชรตํ ลาตีติ กลลํ. กลปุพฺโพ, ลา อา ทาเน, อ. กลฺ สงฺขฺยาเณ วา, อโล.
กลฺลาณ : (ปุ.) ธรรมดี, ความดี. กลฺ สํขฺยาเณ, ลาโณ.
กลส : (ปุ.) ตุ่ม, ไห, ถ้วย, หม้อน้ำ, กลส กลศ ชื่อภาชนะ มีรูปเหมือนคนโทน้ำ มีฝาปิด และมีพวยเหมือนกาน้ำ สำหรับใส่น้ำเทพ- มนต์ ของพราหมณ์ วิ. เกน ลสตีติ กลโส. กปุพฺโพ ลสฺ กนฺติยํ, อ. เกน ลิสฺสตีติ วา กลโส. ลิสฺ สิเลสเน, อ, อิสฺสตฺตํ, กลียตีติ วา กลโส. กลฺ สงฺขฺยาเณ, อโส. ส. กลศ.
กลห : (ปุ.) วาทะเป็นที่โต้เถียง วิ. กลหนฺติ อสฺมินฺติ กลโห. กลหฺ กุจฺฉเน, อ. วาจา เป็นเครื่องโต้เถียง วิ. กลียติ ปริมียติ อเนน สูรภาวนฺติ กลโห. กลฺ สํยฺ ยาเณ, โห. ลง อ ปัจ. ประจำธาตุก่อนแล้วลง ห ปัจ. การ ทะเลาะ, การวิวาท, ความทะเลาะ. ความวิวาท, ความทุ่มเถียง วิ. กลหนํ กลโห. ส. กลห.
กลา : (อิต.) กลา คือส่วน ๑ ใน ๑๖ ส่วน แห่ง ดวงจันทร์ วิ. กลียเต เอกาทินา สํขฺยายเตติ กลา. กลฺ สํขฺยาเณ, อ. เศษ, ส่วน, เสี้ยว, ส่วนแบ่งของเวลา, ศิลปะ.