Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กีฬากลางแจ้ง, แจ้ง, กีฬา, กลาง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กีฬากลางแจ้ง, 247 found, display 1-50
  1. กีฬา : (อิต.) การเล่น, ความซน, กีฬา, กรีฑา. กีฬฺ กีฬเน, อ.
  2. กีฬาปนก : ๑. นป. สิ่งที่ชวนให้เล่น, เครื่องเล่น, ตุ๊กตา; ๒. ค., ป. ผู้ใช้ให้เล่น, ผู้สั่งให้เล่น, เจ้าหน้าที่การกีฬา, นักกีฬา
  3. กีฬาปสุต : ค. ผู้ขวนขวายในการเล่น, ผู้ใส่ใจในการกีฬา
  4. กีฬาภณฺฑก : นป. ดู กีฬาปนก
  5. กีฬามณฺฑล : (นปุ.) สนามกีฬา.
  6. กีฬาสาลา : อิต. โรงกีฬา, โรงสำหรับการเล่นกีฬา, สถานที่รื่นเริง
  7. กีฬาโกฬ, โกฬก : นป. ลูกบอล, ลูกกลมสำหรับเล่น
  8. กีฬาเปติ : ก. ให้เล่น, ฝึก, ซ้อม
  9. ทิวส : (ปุ. นปุ.) วัน,กลางวัน.วิ.ทิพฺพนฺติอสฺมินติทิวโส.ทิวุกีฬายํ,โส.ส.ทิวสทิวน.
  10. นภ : (นปุ.) หาว (ที่แจ้งท้องฟ้า), กลางหาว, อากาศ, ฟ้า, ท้องฟ้า, โพยม, โพยมัน, โพยมาน (ท้องฟ้า), นภา. วิ. น ภวติ เอตฺถกิญฺจิ ปิ วตฺถูติ นภํ. นตฺถิ ภูมิ เอตฺถาติ วา นภํ. น ภายนฺติ ปกขิโน เอตฺถาติ วา นภํ. เป็น ปุ. ก็มี. ส.นภ, โวยมนฺ.
  11. อชฺโฌกาส : ป. ที่กลางแจ้ง, ที่โล่ง
  12. อชฺโฌกาสอพฺโภกาส : (ปุ.) ที่แจ้งยิ่งนัก, โอกาสอันยิ่ง, ที่แจ้ง, กลางหาว.อธิอวปุพฺโพ, อภิอวปุพฺโพ, กสฺ วิเลขเน, โณ.
  13. อชฺโฌกาส อพฺโภกาส : (ปุ.) ที่แจ้งยิ่งนัก, โอ กาสอันยิ่ง, ที่แจ้ง, กลางหาว. อธิ อว ปุพฺโพ, อภิอวปุพฺโพ, กสฺ วิเลขเน, โณ.
  14. อพฺโภกาสิก : ป. ผู้อยู่ในที่กลางแจ้ง, ผู้อยู่กลางแจ้งเป็นวัตร
  15. กิฬน กีฬน : (นปุ.) การเล่น, กีฬา, กรีฑา. กิฬฺ กีฬฺ กีฬเน, ยุ.
  16. กุมารกีฬา : อิต. การเล่นของเด็ก, การรื่นเริงของเด็ก, กีฬาเด็ก
  17. ขิฑฺฑา : อิต. การเล่น, การร่าเริง, กีฬา
  18. ทว : (ปุ.) การเล่น, กีฬา, ความสนุก, ความเฮ ฮา, ความร่าเริง, ความรื่นเริง. ทวฺ. วิหาเร. อ. ป่า, หมุ่ไม้, ต้นไม้. ทุ คติยํ หึสายํ วา วุทฺธิยํ วา, โณ, เป็น ทวา (อิต.)ก็มีส.ทว,ทาว.
  19. ปูฏ : (วิ.) ฉลาด, แจ้ง, ชำระ, ล้าง, สะอาด, บริสุทธิ์. ปุ ปวเน, โฏ, ทีโฆ จ. หรือ ต ปัจ. แปลงเป็น ฏ.
  20. ลาส, - สน : นป. การละเล่น, กีฬา, การฟ้อนรำ
  21. วิ : อ. วิเศษ, แจ้ง, ต่าง, ไม่มี
  22. สมฺมุขา : (อัพ. นิบาต) ต่อหน้า, แจ้ง, ชัด, พร้อมหน้า, ในที่พร้อมหน้า, ในที่เฉพาะหน้า. นิบาตลงในอรรถสัตมี. รูปฯ ๒๘๒.
  23. อาจิกฺขติ : ก. บอก, แสดง, แจ้ง, กล่าว
  24. อาวิ อาวี : (อัพ. นิบาต) ต่อหน้า, แจ้ง, ชัด, ที่แจ้ง, ในที่แจ้ง.
  25. คุฬกีฬา : อิต. การเล่นลูกกลม, การเล่นลูกขลุบ, เล่นลูกบอล
  26. ฌานกีฬา : อิต. การเล่นฌาน
  27. รติกีฬา : อิต. การเสพกาม
  28. อุยฺยานกีฬา : กิต. การรื่นเริงในสวน
  29. ตาราปถ : (ปุ.) ทางแห่งดวงดาว, ทางดาว, กลาง หาว, อากาศ, ท้องฟ้า. วิ. ตารา วุจฺจนฺติ นกฺขตฺตาทโย, ตาสํ ปโถติ ตาราปโถ.
  30. นภากาส : (ปุ.) ฟ้า, ฟากฟ้า, ท้องฟ้า, กลาง หาว, นภากาส, นภากาศ, ส. นภากาศ
  31. พฺยตฺต : (วิ.) ผู้เป็นไปวิเศษ, ปรีชา, ฉลาด, เฉียบแหลม, แจ้ง แจ่มแจ้ง. วิเสส+อทฺ ธาตุในความเป็นไป ต ปัจ.
  32. กิจฺจญ าณ : (นปุ.) ความรู้ซึ่งกรรมอัน...พึงทำ, ฯลฯ, กิจจญาณ ชื่อของญาณอย่างที่ ๒ ใน ๓ อย่างของการเจริญอริยสัจ ๔ ได้แก่รู้ว่า ทุกข์เป็นของที่ควรกำหนดรู้ สมุทัยเป็น ของที่ควรจะ นิโรธ เป็นของที่ควรทำให้ แจ้ง มรรคเป็นของที่ควรทำให้เกิดมี.
  33. กีฬิกา : อิต. ดู กีฬา
  34. มชฺฌฎฐ : (วิ.) ผู้อยู่ในท่าม กลาง. ผู้ดำรงอยู่ในท่าม กลาง. ส. มธฺยสฺถ.
  35. อติถิ อติถี : (ปุ.) คนผู้ไม่มีดิถี (แขก), แขก (คนผู้มาหา). วิ. นตฺถิ ติถิ อสฺสาติ อติถิ. อติถี วา ศัพท์ต้น ณ ปัจ. ศัพท์หลัง อี ปัจ คนผู้ไม่มีดิถีนั้นหมายความว่า มาหาไม่ เลือกเวลา จะเป็นเช้า สาย บ่าย เย็น กลาง คืน ไม่เลือกทั้งสิ้น.
  36. กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
  37. กจฺฉา : (อิต.) เชือกสำหรับผูกท่ามกลางตัวช้าง, สายรัดกลางตัวช้าง, สายรัดท้องช้าง, ปลายแขน, ข้อมือ, ชายกระเบน, หางกระ เบน, สายรัดเอว, รักแร้, หญ้า, เครือเถา, ที่ชุ่มน้ำ.
  38. กาทมฺพ : (ปุ.) นกกาน้ำ ตัวดำคล้ายนกกาแต่ คอยาวกว่า หากินในน้ำ, นกทิ้งทูดเท้งทูด ก็เรียก เป็นจำพวกนกทืดทือ, นกเค้าโมง เป็นนกหากินกลางคืน, นกกะลิง ปากดำตัว เขียว คล้ายนกแก้ว. กทมฺพโยคา กาทมฺโพ.
  39. กายวิญฺญาณ : นป. ความรู้สึกในกายสัมผัส, ความรู้แจ้งอารมณ์ด้วยกายคืออาการที่รู้ว่าสัมผัส
  40. กาลจีวร : (นปุ.) ผ้าเกิดในกาล, กาลจีวร คือ ผ้าที่เกิดขึ้นแก่ภิกษุ ในกาลที่ทรงอนุญาต ตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลาง เดือน ๑๒ ถ้าได้กรานกฐินเลื่อนไปถึง กลางเดือน ๔.
  41. กาลวิปสฺสี : ค. ผู้มีปกติเห็นกาลเวลาอย่างแจ้งชัด
  42. กีฬติ : ก. เล่น, เล่นกีฬา, ร่าเริง
  43. กีฬนา : อิต. การเล่น, การเล่นกีฬา, ความร่าเริง
  44. กีฬิต : ๑. นป. ดู กีฬา๒. กิต. อันเขาเล่นแล้ว, อันเขารื่นเริงแล้ว
  45. กุกฺกุธ : (ปุ.) กระท่อมหมู. เพี้ยนเป็น กระทุ่ม หมู หรือ กระทุ่มขี้หมู บ้าง เป็นไม้ยืนต้น ขนาดกลาง, ไม้กุ่ม.
  46. กุญฺชร : (ปุ.) ช้าง, ช้างพลาย. วิ. กุญฺโช หนุ ทนฺโต จ, ตํโยคา กุญฺชโร. ร ปัจ. กํ ปฐ วึ ตทภิฆาเตน ชราเปตีติ วา กุญฺชโร. กุปุพฺโพ, ชรฺ วโยหานิมฺหิ, อ, อลุตฺตสมาโส อถวา, กุญฺเช คิริกูเฏ รมติ, โกญฺจนาทํ นทนฺโต วา จรตีติ วา กุญฺชโร. อภิฯ. รูปฯ ๓๘๕ วิ. กุญฺชา หนุ เอตสฺส สนฺตีติ กุญฺชโร. รปัจ. กัจฯ ๓๖๘ วิ. กุญฺชา ยสฺส อตฺถิ ตสฺมึ วา วิชฺชตีติ กุญฺชโร. รปัจ. กัจฯ ๓๖๘ วิ. กุญฺชา ยสฺส อตฺถิ ตสฺมึ วา วิชฺชตีติ กุญฺชโร. ร ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ วิ. กุญฺเช รมตีติ กุญฺชโร. กุญฺชปุพฺโพ, รมุ กีฬายํ, กฺวิ. ส. กุญฺชร.
  47. กุตูหล กุตุหฬ โกตูหล โกตูหฬ : (นปุ.) การตื่น, การตื่นข่าว, ความแตกตื่น, ความเอกเกริก. วิ. กุ  ปาปํ ตุลยตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุลฺ อุมฺมาเณ, อ. หฺ อาคมกลาง ธาตุ. เวสฯ วิ. กุ   ปาหํ โตชตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุชฺ หึสายํ, อโล แปลง ช เป็น ห. เป็น กุตุหล กุโตหล โดยไม่ทีฆะ บ้าง.
  48. เกลิ : อิต. ความสนุกสนาน, การเล่นกีฬา
  49. เกฬิ : อิต. กีฬา, การเล่น; การเยาะเย้ย
  50. ขคฺค : (ปุ.) กระบี่, ดาบ, พระขรรค์ ชื่อศัตราวุธ ชนิดหนึ่ง มีคมสองข้าง กลางของความกว้างนูน ปลายแหลม, พระขรรค์ชัยศรี. คำชัยศรีเป็นคำใช้ประกอบชื่อของสิ่งต่างๆ ที่ถือว่าเป็นมงคล. ขคฺคฺ ขณฺฑเภเท, อ. ส. ขฑฺคฺ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-247

(0.0245 sec)