Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กุม , then กม, กุม, กูม .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กุม, 114 found, display 1-50
  1. กูม : (ปุ.) ทะเลสาบ, บึง, หนอง. ส. กูม.
  2. กุมติ : (อิต.) ความรู้อันบัณฑิตเกลียด. กุจฺฉิต+มติ.
  3. กุมตี : (ปุ.) คนพาล (ผู้มีความรู้อันบัณฑิตเกลียด) อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  4. กุกุม กุงฺกุม : (นปุ.) บัวบก, ดอกบัวบก, หญ้าฝรั่น, จันทน์แดง. วิ. กามียตีติ กุกุมํ กุงฺกุมํ วา. กมฺ อิจฺฉากนฺตีสุ, อุโม. แปลง กมฺ เป็น กํก. อถวา, กุกฺ อาทาเน, อุโม, นิคฺคหิตาคโม. ส. กุงฺกุม.
  5. คหณ คหน : (วิ.) จับ, ยึด, ถือ, ถือเอา, กุม, เรียน, ชิด, ชัฏ, รก, รกชัฏ, รกเรี้ยว (รกมาก), ฟั่นเฝือ.
  6. คาห : (วิ.) จับ,กุม,ยึด,ถือ. คหฺ อุปาทาเน,โณ.ผู้จับ วิ. คณ.หาตีติ คาโห.กวน,รับกวน,ทำให้ ปั่นป่วน. คาหุ วิโลลเน, อ.
  7. กม : (ปุ.) กระบวน, แบบ, ลำดับ. กมุ อิจฺฉา- กนฺตีสุ, อ. อภิฯ ลง ณ ปัจ. ไม่ทีฆะ. ความก้าวไป. กมุ ปทวิกฺเขเป.
  8. กุงฺกุม : (วิ.) ย้อมแล้วด้วยหญ้าฝรั่น วิ. กุกุเมน รตฺตํ กุงฺกุมํ. ณ ปัจ. ราคาทิ ตัท.
  9. กุมฺภ : (ปุ.) หม้อ, หม้อน้ำ, ขวด, ขวดน้ำ, ตุ่ม, ตุ่มน้ำ. วิ. เกน ชเลน อุมฺภียตีติ กุมโภ. กปุพฺโพ, อุมฺภฺ ปูรเณ, อ, สฺสุ. อถวา, อุภฺ ปูรเณ, อ, นิคฺคหิตาคโม.
  10. กุมฺภณฺฑ : (ปุ.) กุมภัณฑะ ชื่อกำเนิดเทวดาอย่างที่ ๗ ใน ๘ อย่าง, กุมภัณฑ์ (ยักษ์). กุมฺภปฺปมาณณฺฑตาย กุมฺภณฺโฑ.
  11. กุมฺภณฺฑสามิ : (ปุ.) กุมภัณฑสามิ ชื่อท้าวจตุโลก- บาลประจำ (ทิศใหญ่) ทิศใต้, ท้าววิรุฬหก.
  12. กุมฺภีล : (ปุ.) สัตว์ผู้ไปในห้วงน้ำ, จระเข้, กุมภา กุมภีล์. วิ. กุมเภ อุลตีติ กุมฺภีโล. กุมฺภปุพฺ- โพ, อุลฺ คมเน, อ, อุสฺสี. ส. กุมฺภีร.
  13. คห : (ปุ.) การจับ, การกุม, การจับกุม, การยึด, การถือ, การยึดถือ, เรือน, ป่า, หมู่ไม้, ยักษ์, ปลาฉลาม, จระเข้, นายขมังธนู, ดาวนพเคราะห์. คหฺ อุปาทาเน, อ. ดาว- นพเคราะห์ คือ สูโร อาทิจฺโจ วา, จนฺโท, องฺคาโร, วุโธ, โสโร, ชีโว, ราหุ, สุกโก, เกตุ. ส. ครฺห.
  14. จตุชาติคนฺธ, จตุชฺชาติยคนฺธ : ป. ของหอมมีชาติสี่, คันธชาติสี่ชนิด คือ ๑. กุงฺกุม = หญ้าฝรั่น ๒. ตคล = กฤษณา ๓. ตุรุกฺข = กำยาน ๔. ยานปุปฺผา = บุปผชาติอันมีในแดนโยนก
  15. จาตุกุมฺมาส : ป. ขนมกุมมาส (ทำด้วยข้าวต้มผสมนมเปรี้ยว) มีส่วนผสมสี่อย่าง
  16. ทินฺทิภ : (ปุ.) นกต้อยตีวิด, นกกระต้อยตีวิด, นกกระเรียน. ทิภฺ สนฺทพฺเภ, อ. เท๎วภาวะ ทิ นิคคหิตอาคม. นกตระกุม ก็แปล.
  17. องฺกน : (นปุ.) การกำหนด, หมาย (หนังสือเกณฑ์ หรือหนังสือเกาะกุมตัว). เครื่องหมาย, การทำเครื่องหมาย, การประทับตรา.ยุปัจ.
  18. กมติ : ก. ก้าวไป, ดำเนินไป; บรรลุ
  19. กมนีย : นป. สิ่งที่น่าใคร่, สิ่งที่น่าปรารถนา
  20. กมลินี : อิต. สระบัว
  21. กมลี : ค. มีบัวมาก, เดียรดาษด้วยดอกบัว
  22. ปรกฺกม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องก้าวไปยังคุณใน เบื้องหน้า, การก้าวไปสู่คุณในเบื้องหน้า, การก้าวไปข้างหน้า, ความก้าวไปข้างหน้า, ความเป็นคนกล้า, ( ไม่กลัวหนาว ฯลฯ ) , ความเพียร, ความบากบั่น, ความตะเกียกตะกาย ( พยายามทุกทางเพื่อให้ ประสบความสำเร็จ ) . วิ. ปรํ ปรํ ฐนํ อกฺกมตีติ ปรฺกกโม. ปรํ ปจฺจนึกภูตํ โกสฺชฺชํ อกฺกมตีติ วา ปรฺกกโม. ปรปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ซ้อน กฺ.
  23. อกฺกม อกม : (วิ.) เหยียบ. อา บทหน้า กมฺ ธาตุ อ ปัจ. รัสสะ อา เป็น อ ศัพท์ หน้าซ้อน กฺ.
  24. อุกฺกม : (ปุ.) ความขยัน, ฯลฯ. อุปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ, ยุ.
  25. อุปกม อุปกฺกม : (ปุ.) การก้าวไปก่อน, ความหมั่น, ฯลฯ. อุปปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ศัพท์หลังซ้อน กฺ. ส. อุปกฺรม.
  26. โอกฺกม : (ปุ.) การหยั่งลง, การย่างลง, การก้าวลง, ความหยั่งลง, ฯลฯ. โอปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ, ยุ.
  27. โอปกฺกม : (ปุ.) ความเพียร, อุปกฺกมศัพท์ พฤทธิ์ อุ เป็น โอ.
  28. กิมิ : (ปุ.) หนอน, แมลง, แมลงต่าง ๆ, ตั๊กแตน, กฤมิ. วิ. กุจฺฉิตํ อมตีติ กิมิ. กุปุพฺโพ, อมฺ คติยํ, อิ. แปลง อุ ที่ กุ เป็น อ แล้ว แปลงเป็น อิ. กียติ หึสียติ กิปิลฺลิกาทีหิ พลวสวิสติรจฺฉานคตาทีหิ กินาติ หึสติ วา ปรสตฺเตติ กิมิ. กิ หึสายํ, อิ มฺ อาคโม. มิ ปจฺจโย วา. ส. กฤมิ กริมิ.
  29. กิมุ : (อัพ. นิบาต) หรือ, หรือว่า, หรือไม่.
  30. กิมุ, กิมุต : อ. หรือ, หรือว่า, หรือไม่, อย่างใด, เท่าใด, เหมือนอย่างนี้
  31. กีมิ : (ปุ.) หนอน, ฯลฯ. วิ. ปจฺจามิตฺเต กีณาตีติ กีมิ. กี หึสายํ, มิ. ดู กิ หึสายํ.
  32. จงฺกม : (ปุ.)
  33. จงฺกมติ : ก. จงกรม, เดินเวียนรอบไปมา
  34. จตุกฺกม : ค. ซึ่งก้าวไปด้วยเท้าสี่, ซึ่งเดินสี่ขา (สัตว์สี่เท้า)
  35. จีวรสงฺกมนีย : นป. จีวรที่ต้องส่งคืน, จีวรของผู้ที่ตนนำมาใช้โดยไม่บอกเจ้าของจำต้องส่งคืนเจ้าของเดิม
  36. ฐานานุกฺกม : (ปุ.) อันก้าวไปตามซึ่งตำแหน่ง, ความก้าวไปตามฐานะ, ฐานานุกรม ชื่อ ลำดับตำแหน่งสมณศักดิ์พระสงฆ์ ซึ่งพระ ราชาคณะมีอำนาจตั้งสมณศักดิ์ให้ตามที่ ท่านได้มาเมื่อรับพระราชทานสมณศักดิ์.
  37. ตกฺกากม : ป. ลำดับแห่งความตรึก
  38. ตถปรกฺกม : ป. การก้าวเข้าไปสู่ความเป็นจริง
  39. ทฬฺหนิกฺกม : ค. มีความเพียรมั่นคง, มีความพยายามเด็ดเดี่ยว
  40. ทฬฺหปรกฺกม : ค. มีความบากบั่นมั่นคง, มีความพากเพียรเด็ดเดี่ยว
  41. ทุรติกฺกม : ค. ดู ทุรจฺจย
  42. นิกฺกม : (ปุ.) อันก้าวออก, อันออกไป, อันก้าว ออกไป, อันขยายออกไป, การก้าวออก. ฯลฯ, ความเพียร.
  43. นิกฺกมติ : ก. ก้าวต่อไป, พยายาม
  44. ปกฺกม : ป. การก้าวไป, การจากไป, การหลีกไป
  45. ปกฺกมติ : ก. หลีกไป
  46. ปฏิกฺกม : ป. การถอยกลับ, การกลับไป, การหลีกออกไป, การเลิกรา
  47. ปฏิกฺกมติ : ก. ถอยกลับ, กลับมา, กลับไป, หลีกออกไป
  48. ปทานุกฺกม : (วิ.) การก้าวไปตามซึ่งบท, ลำดับแห่งบท, ปทานุกรม ชื่อตำราแปลศัพท์เรียงตามลำดับแห่งบท ( อักษร ).
  49. ปรกฺกมติ : ก. บากบั่น, มุ่งมั่น, พากเพียร, ก้าวหน้า
  50. ปรกฺกม, - มน : ป., นป. ความบากบั่น, ความมุ่งมั่น, ความพากเพียร
  51. [1-50] | 51-100 | 101-114

(0.0586 sec)