Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กุศล , then กุศล, กุสล .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กุศล, 59 found, display 1-50
  1. กุสล : (วิ.) มีฝีมือ, ฉลาด, ชำนาญ, คล่อง, คล่องแคล่ว, มั่งคั่ง, งาม, ดี. เหมาะ, ควร, สมควร, ถูก (ไม่ผิด), ถูกต้อง, ไม่มีโทษ, ไม่มีโรค, สบาย. ส. กุศล.
  2. สุจริต : (นปุ.) ความประพฤติดี, ความสุจริต. วิ. สุนฺทรํ จริตํ สุจริตํ. บุญ, กุศล, สุจริต. ไทย สุจริต ว่าประพฤติตรงต่อหน้าที่.
  3. สุกฎ สุกต : (นปุ.) การทำดี, การทำให้ดี, การทำงานให้ดี, บุญ, กุศล. วิ. สุขํ กโรตีติ สุกฎํ สุกตํ วา. สุขปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, โต. ศัพท์ต้นแปลง ต เป็น ฎ. โสภนํ กรณํ อสฺสาติ วา สุกฎํ สุกตํ วา. ลบ ภน แปลง โอ เป็น อุ.
  4. กุสลเจตนา : อิต. กุศลเจตนา, เจตนาที่เป็นกุศล, ความตั้งใจดี
  5. กุสลวิตกฺก : ป. กุศลวิตก, ความตรึกที่เป็นกุศล
  6. กุสลวิปาก : ป. กุศลวิบาก, ผลแห่งกรรมดี
  7. กุสลเวทนา : อิต. เวทนาที่เป็นกุศล
  8. อธิกุสล : ค. อันเป็นกุศลยิ่ง, ดียิ่ง
  9. กมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรม, ทางเกิดของ กรรม, คลองแห่งกรรม, กรรมอันเป็น คลอง, กรรมบถ ชื่อธรรมหมวดหนึ่งมี ๑๐ ข้อ มีทั้งฝ่ายกุศลและอกุศล.
  10. กมฺมภว : (ปุ.) กรรมภพ ที่เกิดของกรรมทั้ง ฝ่ายกุศลและอกุศลที่เกิดของสัตว์ผู้มีกรรม ทั้งที่เป็นอกุศลจิต และโลกิยกุศลจิต. ปุญฺ ญา ภิสงฺขาโร อปุญญาภิสงฺขาโร อเนญชา ภิสงฺขาโร อยํ กมฺมภโว. ขุ. จู ไตร. ๓๐/๒๘๕.
  11. กายทุจฺจริตาทิอกุสลกมฺมาภิรต : (วิ.) ผู้ยินดี ยิ่งแล้วด้วยกรรมมิใช่กุศลมีความประพฤติ ชั่วด้วยกาย เป็นต้น.
  12. กุสลกมฺม : (นปุ.) การทำอันเป็นความดี, ฯลฯ, กุศลกรรม. ส.กุศลกรฺม กุศลกรฺมฺม.
  13. กุสลกมฺมปติฏฐากรณกาล : (ปุ.) กาลเป็นที่ทำ ซึ่งที่พึ่งคือกรรมอันเป็นกุศล. เป็น วิเสสนปุพ. กัม. มี วิเสสนบุพ. กัม. อวกัม. และ ทุ. ตัป. เป็นท้อง.
  14. กุสลกมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรมอันเป็นกุศล, กรรมอันเป็นคลองอันเป็นกุศล, ทางแห่ง การสร้างความดี, กุศลกรรมบถ ชื่อ ธรรม สำหรับสร้างความดี มี ๑o อย่าง คือ กาย สจริต ๓ วจีสุจริต ๔ และมโนสุจริต ๓.
  15. กุสลจิตฺต : นป. กุศลจิต, จิตที่เป็นกุศล, ความคิดที่ดี
  16. กุสลธมฺม : ป. กุศลธรรม, ธรรมที่เป็นกุศล, ธรรมฝ่ายดี
  17. กุสลปกฺข : ป. ธรรมฝ่ายกุศล
  18. กุสลปกฺขิก : ค. อันเป็นฝักฝ่ายแห่งกุศล
  19. กุสลสีล : นป. ศีลอันเป็นกุศล, ความประพฤติดี
  20. กุสลานุเอสี : ค. ผู้แสวงหากุศล, ผู้แสวงหาความดี
  21. กุสลาภิสนฺท : ป. วิบากเป็นแดนไหลออกแห่งกุศล, ผลแห่งกุศลธรรม, ห้วงบุญ
  22. ครุกมฺม ครุกกมฺม : (นปุ.) กรรมหนัก. กรรม หนักฝ่ายกุศลได้สมาบัติ ๘ ฝ่ายอกุศล ได้แก่ อนันตริยกรรม ๕. วิ. กมฺมนตเรหิ ปฏิพาหิตํ อสกฺกุเณยฺยตฺตา ครํ ครุกํ วา กมฺมนฺติ ครุกมฺมํ ครุกกมฺมํ วา.
  23. คีตวาทิตวิสูกทสฺสน : (นปุ.) การขับและการประโคมและการดูการเล่นอันเป็นข้าศึก (แก่กุศล).
  24. จีวรทานาทิเภท : (วิ.) อันต่างด้วยกุศลมีอัน ถวายซึ่งจีวรเป็นต้น.
  25. ชน : (ปุ.) สัตว์, คน, ชน ( ผู้ยังกุศลและอกุศล ให้เกิด ). วิ. กุสลากุสลํ ชเนตีติ ชโน. ชนฺ ชนเน, อ. ส. ชน.
  26. ทกฺขิณานุปทาน : (นปุ.) การเพิ่มให้ซึ่ง ทักษิณา, ทักขิณานุปทาน ทักษิณา- นุปทาน คือ การทำบุญอุทิศส่วนกุศลเพิ่ม ให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้วหรือการทำบุญทุกๆ เจ็ดวัน นอกจากเจ็ดวันแรก ก่อนครบ ๕๐ วัน มักทำเป็นการภายในไม่บอกแขก.
  27. ทกฺขิโณทก : (นปุ.) น้ำอันบุคคลพึงให้เพื่อทาน สมบัติอันเจริญ, ทักขิโณทก, ทักษิโณทก. เดิมคำนี้เป็นชื่อของน้ำที่เจ้าภาพถวายแด่ พระก่อนจะฉันภัตตาหาร เพื่อใช้บ้วนปาก ล้างมือหรือชุบมือ ( กรณีฉันด้วยมือ ) แต่ปัจจุบันนี้หมายถึงน้ำที่เจ้าภาพหลั่ง ( เทให้ใหลลงช้าๆ โดยไม่ขาดสาย ) เวลา ทำบุญ เพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่ผู้ล่วงลับไป แล้ว หรือเป็นชื่อของน้ำที่เจ้าของสิทธิ์ หลั่งลง เป็นการแสดงการมอบของที่ไม่ สามารถยกได้ให้เป็นสิทธิ์ขาด อีกอย่าง หนึ่ง เป็นชื่อของเต้าน้ำ ราชาศัพท์ใช้ว่า พระเต้าษิโณทก คำกลอนมักตัดทักออก ใช้ว่า ษิโณทก.
  28. ธมฺมจริยา : (อิต.) ความประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จริยา ธมฺมจริยา. ทุ.ตัป. การประพฤติเป็นธรร,ความประพฤติเป็นธรรม. วิ. ธมฺโม จริยา ธมฺมจริยา. วิเสสนบุพ. กัม. เจตนาเป็นเครื่องประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรติ เอตายาติ ธมฺมจริยา. ญฺย ปัจ. ไม่ทีฆะ อิ อาคม รูปฯ ๖๔๔. การประพฤติธรรมคือการประพฤติปฏิบัติตามกุศลกรรมบท ๑๐.
  29. นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสน : (นปุ.) การฟ้อน รำและเพลงอันบุคคลพึงขับและดนตรี อันบุคคลพึงประโคมและการดูการเล่น อันเป็นข้าศึกแก่กุศล, การฟ้อนและการขับและการประโคมดนตรีและการดูการเล่นอันเป็นข้าศึกแก่กุศล. สำนวนการแปลแรกที่แปล คีต และ วาทิต ว่าพึงนั้นแปลตามรูป วิ. เคตพฺพนฺคิ คีตํ. วาทิตพฺพนฺติวาทิตํ.
  30. นิปก : (วิ.) ผู้ยังกุศลกรรมให้สุกโดยไม่เหลือ (คือมีในตนให้สมบูรณ์), ปัญญาอัน ยังกุศลธรรมให้สุกโดยไม่เหลือ. วิ นิสฺเสสโต ปาเจติ กุสลธมฺเมติ นิปโก. นิปปุพฺโพ, ปจฺ ปาเก, อ, จสฺส โก.ผู้มี ปัญญาเป็นเครื่องรักษาซึ่งตนโดยไม่เหลือ, ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน,ผู้มีปัญญา รักษาตน, ผู้รักษาตนให้สิ้นจากปฏิปักษ์. นิปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, อ, สกตฺเถ โก.ผู้ยัง ปฏิปักษ์ให้สิ้น วิ.นิปยติปฏิกฺขนฺติ นิปโก. นิปุพฺโพ, เป โสสเน, อ, สกตเถ โก.ผู้มี ไหวพริบ,ผู้ฉลาด,ผู้รอบคอบ,ผู้มีปัญญา, ผู้มีปัญญาแจ่มแจ้ง,ผู้มีความรู้,ผู้มีความ ตรัสรู้,ผู้มีญาน, ผู้มีปัญญาทำลายกิเลส. ไตร. ๓๐/๒๑๐.
  31. ปริตฺตธมฺม : (ปุ.) ปริตตธรรม คือ กุศลธรรม อกุศลธรรม และ อัพยากตธรรม ที่เป็น กามาวจรทั้งหมด. ไตร. ๓๓ / ๒๖๗ / ๖๗๘.
  32. ปุพฺพเปตพลิ : (ปุ.) การบูชาแก่ญาติผู้ละไปแล้วก่อน, การบูชาแก่ญาติผู้ตายไปก่อน, เครื่องบูชาอันบุคคลทำให้ แก่ผู้ละโลกไปแล้วก่อน, เครื่องเซ่นสรวงที่กระทำให้แก่ผู้ตายไปก่อน, บุญกุศลที่อุทิศให้แก่ญาติผู้ตายไปก่อน.
  33. ภาวนา : (อิต.) คุณชาติเป็นเครื่องยังกุศลให้เกิด, คุณชาติเป็นเครื่องยัง...ให้เจริญ, ความมี, ฯลฯ, ภาวนา (สำรวมใจตั้งความปรารถนา การทำให้มีขึ้น ให้เป็นขึ้น ให้เจริญขึ้น การอบรมให้เจริญขึ้น). ภู สตฺตายํ, ยุ.
  34. มชฺฌิมธมฺม : (ปุ.) ธรรมปานกลาง ได้แก่ กุศลธรรมและอัพยากตธรรมที่เป็นกามาสวะ เป็น กามาวจร รูปาวจร และ อรูปาวจร. ไตร. ๓๓.
  35. มนุสฺส : (ปุ.) ผู้มีใจสูง, ชนผู้มีใจสูง วิ. มโน อุสฺโส อสฺสาติ มนุสฺโส. ชนผู้รู้ซึ่งเหตุผลและสภาวิมิใช่เตุ วิ. การณาการณํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์และภาวะมิใช่ประโยชน์ วิ. อตฺถานตฺถํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งธรรมอันเป็นกุศลและอกุศล วิ. กุสลากุสเล ธมฺเม มนตีติ มนุสฺโส. มนฺ ญาเณ, อุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์ของตนตามกำลัง วิ. ยถาพลํ อตฺตโน หิตํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้เป็นเหล่ากอของพระมนู, ชาย, มนุษย์, ประชาชน, คน. วิ. มนูโน อปจฺจํ มนุสฺโส. อสฺส ปัจ. โคตดตัท. อภิฯ กัจฯ ๖๗๓.
  36. มหากุสลจิตฺต : (นปุ.) จิตมีความเป็นใหญ่, จิตมีความดีมาก, มหากุศลจิต (มี ๘ ดวง).
  37. มาร : (ปุ.) สภาพผู้ฆ่า, สภาพผู้ทำลาย (ความดี), มาร, มารคือกามเทพ. วิ. สตฺตานํ กุสลํ มาเรตีติ มาโร (ยังความดีของสัตว์ให้ตาย). กุสลธมฺเม มาเรตีติ วา มาโร (ยังกุศลธรรมให้ตาย). มรฺ ปาณจาเค, โณ. ทางศาสนาจัด กิเลสกาม เป็นมารวัตถุกาม เป็นบ่วงแห่งมาร.
  38. มูลนิธิ : (ไตรลิงค์) ทรัพย์อันบุคคลเก็บไว้เป็นต้นทุน, มูลนิธิ ชื่อทรัพย์สินอันตั้งไว้เป็นทุนเก็บแต่ดอกผลมาใช้ในการกุศลหรือประโยชน์สาธารณะ ต้องจดทะเบียนตามกฏหมาย.
  39. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  40. สาธุกิฬน : นป. การเล่นเป็นบุญกุศล, การฉลองพิธีอันศักดิ์สิทธิ์
  41. อกุสลกมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรมมิใช่กุศล, ทางแห่งความชั่ว, อกุศลกรรมบถ มี ๑๐ คือกายทุจริต๓ วจีทุจริต๔ มโนทุจริต๓.
  42. อตฺตสมฺมาปณิธิ : (นปุ.) การตั้งไว้ซึ่งตนโดย-ชอบ, ความตั้งไว้ซึ่งตนโดยชอบ, การตั้งตนไว้ชอบ. วิ. อตฺตโน สมฺมา ปณิธิ อตฺตสมฺมา ปณิธิ. คนไม่มีศิล ได้รับคำสอนแล้วทำตนให้มีศิล คนไม่มีศรัทธาทำตนให้มีศรัทธาคนมีความตระหนี่ทำตนให้ถึงพร้อมด้วยการบริจาคหรือตั้งตนไว้ในกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการชื่อว่า การตั้งตนไว้ชอบ.
  43. อภินิหาร : (ปุ.) คุณเครื่องนำออกยิ่ง, อภินิหารคืออำนาจแห่งบารมีอำนาจบุญกุศลที่สร้างสมไว้.เป็นอภินีหาร บ้าง.
  44. อานิสส : (ปุ.) คัณอันไหลออกเป็นนิตย์จากผล, อานิปุพฺโพ, สนฺทฺปสเว, อ.แปลงนฺเป็นนิคคหิตทเป็นส.คุณเป็นที่ไหลออกโดยยิ่ง.อา+นิ+สนฺทฺ+อปัจ.ผลอันไหลออกจากเหตุดี.อานิ=ผลสํส=ไหลออก.ความดี, คุณ, ประโยชน์, อานิสงส์(ผลแห่งการทำนั้น ๆผลแห่งกุศลผลแห่งความดี).อา-นิปุพฺโพ, สํสฺถุติยํ, อ.
  45. อุปปีฬกกมฺม : (นปุ.) กรรมบีบคั้น, กรรม เบียดเบียนกรรมอื่น ๆ (ได้แก่ อกุศลกรรม ๑๒ มหากุศลกรรม ๘), อุปปีฬกกรรม (กรรมที่เบียดเบียนชนกกรรมซึ่งให้ผลอยู่ แล้วให้มีกำลังลดลง กรรมที่เบียดเบียนรูป นามซึ่งเกิดจากชนกกรรมให้มีกำลังลดลง).
  46. อุปสมฺปทา : (อิต.) การถึงพร้อมในธรรมเบื้อง บน (สูง). อุปริ+สมฺปทา ลบ ริ. การถึง พร้อม, การเข้าถึงพร้อม, การยังกุศลให้ถึง พร้อม. อุป+สํ+ปทา, การอุปสมบท (บวช เป็นภิกษุ). ส. อุปสมฺปทฺ.
  47. กุสลเจตสิก : (วิ.) (ธรรม อารมณ์) อันเกิดกับจิตที่เป็นอกุศล.
  48. กุสลตา : อิต. ความเป็นผู้ฉลาด, ความชำนาญ
  49. กุสลมูล : (นปุ.) รากเหง้าแห่งความดี, ฯลฯ.
  50. กลฺยาณกุสล : ค. ผู้ฉลาดหรือชำนาญในสิ่งที่ดีงาม
  51. [1-50] | 51-59

(0.0190 sec)