กูปก : (ปุ.) เสากระโดง, กูปฺ คมเน, ณฺวุ, อปจฺจโย วา สกตฺเถ โก. ส. กูปก.
กูปามฺพุพฺพาหณ กูปามฺพุพฺพาหน : (นปุ.) วัตถุสำหรับตักน้ำขึ้นจากบ่อ, ถัง, ครุ. วิ. กูปโต อมฺพุโน อุพฺพาหณํ อุทฺธาหรณํ กูปามฺพุพฺพาหณํ.
กูชน : นป. เสียงนกร้องเจี๊ยบจ๊าบ
กูชิต : นป., ค. เสียงนกร้อง; กึกก้องด้วยเสียงนกร้อง
กูปามฺพุพาหณ : นป. ถัง, ครุ
กูปาร : (ปุ.) ทะเล (เต็มด้วยน้ำ มีน้ำเค็ม).
อมฺห : (ปุ. อิต.) ฉัน, ข้า, กู, ฯลฯ.คำแทนตัวภิกษุแปลว่าอาตมภาพ, อาตมา, รุป.ลูกพูดกับพ่อแม่แปลว่าลูก, หนู.หญิงพูดกับคนใกล้ชิดหรือคุ้นเคยหรือ คนรักแปลว่าหนูชายพูดกับหญิงที่รักแปลว่าเรียม, พี่. อมฺหศัพท์เป็นคำแทนตัวผู้พูดบาลีไวยากรณ์เป็นบุรุษที่๓ไวยากรณ์ไทยเป็นบุรุษที่๑.
กุ : (วิ.) เล็ก, น้อย, นิดหน่อย, ง่าย, ชั่ว, เลว, เกลียด, น่าเกลียด.
นิกูชิต : ค. ซึ่งร้องเสียงแหลม, ซึ่งส่งเสียง
ปริกูชน : (วิ.) ครวญ, กังวาน, ก้องกังวาน.
ปสุกูลิก : ค. ผู้ใช้ผ้าบังสุกุลเป็นวัตร
วิกูชน : นป. การร้อง (ของนก)
อภิกูชน : นป. การร้องก้อง, การขัน, การขันคู, การเห่า
อภินิกูชิต : ค. ร้องก้อง, เห่าก้องแล้ว
อุปกูลิต : กิต. ห่อเหี่ยวแล้ว, หดหายเข้าไปแล้ว
เอกูนอตฺตภาวสต : (นปุ.) ร้อยแห่งอัตภาพ หย่อนด้วยอัตภาพหนึ่ง, เก้าสิบเก้าอัตภาพ.
กานน : (นปุ.) ดง, ป่า, หมู่ไม้. วิ. เกน ชเลน อนนํ ปาน มสฺสาติ กานนํ. ฐิ ตมชฺฌนฺติก- สมเย กวติ สทฺทํ กโรติติ วา กานนํ. โกกิลม ยูราทโย กวนฺติ สทฺทายนฺติ กูชนฺติ เอตถาติ วา กานนํ. กุ สทฺเท, ยุ. ส. กานน.
กูป : (ปุ.) หม้อ, ช่อง, ขุม, หลุม, บ่อ, บ่อน้ำ เสากระโดง. วิ. กวนฺติ นทนฺติ มณฺฑูกา เอตฺถาติ กูโป. กุ สทฺเท, โป, ทีโฆ. กุ อปฺปโก อาโป อสฺมินฺติ วา กูโป กุ+อาป. ส. กูป.
ทุกูล : (นปุ.) ผ้าทำด้วยเปลือกไม้ล ผ้าเปลือกไม้. วิ. ทุกฺเขน กุลยเตติ ทุกูลํ. ทุปุพฺโพ, กุลฺ อาหรเณ, อ. ทุเมหิ ชาตํ กูลนฺติ วา ทุกูลํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ผ้าสาณะ ก็แปล เป็น ทุกุล ก็มี.
ยกฺขาธิป : (ปุ.) ยักขาธิป ชื่อท้าวโลกบาลผู้เป็นใหญ่ในทิศเหนือ เป็นอธิบดีของยักษ์มีชื่อเรียก ๒ ชื่อ คือ ท้าวกูเวร ๑ ท้าวเวสสุวัณ ๑. วิ. ยกขานํ อธิโป ยกฺขาธิโป.
กุตูหล กุตุหฬ โกตูหล โกตูหฬ : (นปุ.) การตื่น, การตื่นข่าว, ความแตกตื่น, ความเอกเกริก. วิ. กุ ปาปํ ตุลยตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุลฺ อุมฺมาเณ, อ. หฺ อาคมกลาง ธาตุ. เวสฯ วิ. กุ ปาหํ โตชตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุชฺ หึสายํ, อโล แปลง ช เป็น ห. เป็น กุตุหล กุโตหล โดยไม่ทีฆะ บ้าง.
กุโต : (อัพ. นิบาต) แต่...ไหน, จาก...ไหน, แต่ ไหน, จากไหน, แต่ที่ไหน, จากที่ไหน, เพราะเหตุไร. กึ ศัพท์ โต ปัจ. แปลง กึ เป็น กุ. กุตฺต (นปุ.?) การทำ. กรฺ+ต ปัจ. แปลง กรฺ เป็น กุ ซ้อน ตฺ.
กุลาล : (ปุ.) ช่างหม้อ วิ. กุ ลลยตีติ กุลาโล. กุปุพฺโพ, ลลฺ อิจฺฉายํ, โณ. กุลติ อตฺตโน สิปฺปํ ปตฺถรตีติ วา กุลาโล. กุลฺ สนฺตาเน, อาโล. ส. กุลาล.
กุสุมฺภ : (ปุ.) บ่อเล็ก, หลุมเล็ก. กุ คือ ขุทฺทก + สุมฺภ.
กุกุม กุงฺกุม : (นปุ.) บัวบก, ดอกบัวบก, หญ้าฝรั่น, จันทน์แดง. วิ. กามียตีติ กุกุมํ กุงฺกุมํ วา. กมฺ อิจฺฉากนฺตีสุ, อุโม. แปลง กมฺ เป็น กํก. อถวา, กุกฺ อาทาเน, อุโม, นิคฺคหิตาคโม. ส. กุงฺกุม.
กุกุร กุกุห : (ปุ.) นกเขา (ร้องเสียงกุกุ).
กุตุมฺพก : ป. ดอกกุตุมพกะ (ชื่อดอกไม้ชนิดหนึ่งในอินเดีย)
กุทาจน : (อัพ. นิบาต) ในกาลไหน, ในการไร, ในกาลบางครั้ง, ในกาลบางที, ในการไหน ๆ. วิ. กสฺมึ กาเล กุทาจนํ. กึ+ทาจนํ ปัจ. ลงในอรรถ กาลสัตตมี.
กุธารี : (อิต.) พร้ามีคมน่าเกลียด, ขวาน, ผึ่งวิ. กจฺฉิตา ธารา อสฺสาติ กุธารี.
กุมาส : ป. ขนมกุมาส
กุมิน : (นปุ.) ไซ, ลอบ (เครื่องดักปลามีอย่าง ต่างๆ ถ้าเนื้อความมีความมีความหมาย กว้างๆแปลว่า ลอบไซ). วิ. วชฺฌปฺปตฺตาย กุจฺฉิตา มีนา ยสฺมึ ตํ กุมินํ. กมุ ปทวิกฺ เขเป, อิโน, อสฺส อุตฺตํ. กมนฺติ เอตฺถ มีนาทโย ปวิสนฺตีติ วา กุมินํ. อถวา, กุจฺฉิเตนากาเรน มจฺเฉ มินนฺติ เอเตนาติ วา กุมินํ. กุปุพฺโพ, มิ หึสายํ, ยุ.
กุมุทิกา : (อิต.) แตงหนู, รกฟ้า (ไม้ยืนต้นขนาด ใหญ่). วิ. กุจฺฉิเตน โมทตีติ กุมุทิกา.
กุรี : (ปุ.?) หญ้า (เกิดบนแผ่นดิน). กุปุพฺโพ, รุหฺ ปาตุภาเว, อี, หโลโป.
กุรุ : (ปุ.) กุรุ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒o ของอินเดีย โบราณ วิ. ธมฺมตา สิทฺธสฺส ปญฺจสีลสฺส อานุภาเวน กํ สุขํ อุรุ มหนฺตา เอตฺถาติ กุรุ. กํ ปาปํ รุนฺธติ เอตฺถาติ วา กุรุ. กุปุพฺโพ, รุธิ อาวรเณ, กฺวิ. กุรติ กิจฺจากิจฺจํ วทตีติ วา กุรุ. กุรฺ สทฺเท. อุ. เป็น กุรู ด้วยรุฬ- หิเภทบ้าง.
กุรุงฺค : (ปุ.) กวาง, จามรี จามจุรี ชื่อเนื้อทรายมี ขนละเอียด หางพวงเป็นพู่. วิ. กุยํ รงฺคตีติ กุรุงฺโค. กุปุพฺโพ, รงฺค. คมเน, อ, อสฺสุ. เป็น กุรงฺค โดยไม่แปลง อ เป็น อุ บ้าง.
กุรุนที : อิต. อรรถกถาวินัย, ชื่อกุรุนที
กุรุวินฺท : (ปุ.) พลอยแดง, ทับทิม. กุรุวินฺทสุตฺติ ก้อน-จุรณ์หินสีดังพลอยแดง.
กุรู กุรูร : (วิ.) แข็ง, แข็งกระด้าง, หยาบ, หยาบคาย, หยาบช้า, กักขละ, กักขฬะ, สาหัส. วิ. กนฺตตีติ กุรูรํ. กนฺตฺ เฉทเน, อูโร. กนฺตสฺส กุราเทโส, กิพฺพิสํ กโรตีติ กุรูโร. กรฺ หึสายํ, อูโร, อสฺสุ. กุรฺ อกฺโก- เส วา, อูโร. ศัพท์ต้นลง อู ปัจ.
กุรู, - รุ : ป. ชาวแคว้นกุรุ, แคว้นกุรุ
กุลิ : (ปุ.) มือ. กุลฺ สนฺตาเน, อิ. ส. กุลิ.
กุลิตฺถี : (อิต.) หญิงควรแก่ตระกูล, หญิงผู้คู่ควรแก่ตระกูล. วิ. กุลานุรุปา อิตฺถี กุลิตฺถี. หญิงแห่งตระกูล วิ. กุลสฺส อิตฺถี กุลิตฺถี. ดูกุลธีตุ ด้วย.
กุลิน กุลีน : (ปุ.) คนมีตระกูล, เหล่ากอแห่ง ตระกูล วิ. กุลสฺส อปจฺจํ กุลิโน วา. อิน, อีน ปัจ.
กุลิส : (ปุ. นปุ.) กุลิสะ ชื่ออาวุธพระอินทร์, ขวานฟ้า, แก้ววิเชียร. วิ. กุลิมฺหิ สกฺกสฺส หตฺเถ เสติ ติฏฺฐตีติ กุลิสํ. กุลิปุพฺโพ, สิ คติยํ, อ. กลียตีติ วา กุลิสํ. กลฺ สํวรเณ, อิโส, อสฺสุ.
กุลีร กุฬีร กุลิร กุลิรก : (ปุ.) ปู (ปูต่างๆ) วิ. กํ ปฐวึ ลุนาตีติ กุลีโร. กุปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อีโร. กุลติ ปตฺถรตีติ วา กุลีโร. กุลฺ สนฺตานพนฺธุสุ, อีโร.
กุลุปก กุลุปค กุลูปค : (วิ.) ผู้เข้าถึงตระกูล, ผู้ประจำตระกูล. วิ. กุลํ อุปคจฺฉตีติ กุลุปโค. กุล+อุป+คมฺธาตุ กฺวิ ปัจ. ที่เป็น กุลปก เพราะแปลง ค เป็น ก กัจฯ ๒๙ รูปฯ ๔๒.
กุลุปก กุลุปิก : (ปุ.) คนผู้คุ้นเคย, กุลุปกะ กุลุปิกะ ใช้เรียกภิกษุผู้ประจำตระกูล.
กุเวณิ กุเวณี : (อิต.) ไซ, ลอบ, อวน, แห. กุจฺฉิตา เวณิ เวณี วา อสฺสาติ กุเวณิ กุเวณี วา.
กุสิ : นป. ผ้ากุสิ, ชิ้นผ้าตัวยืนเล็กรียาวต่อข้างมณฑล และอัฑฒมณฑลในจีวร ๕ ขันฑ์
กุสินารา : (อิต.) กุสินารา ชื่อนครพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. ยสฺส มาปิตกาเล นิมิตฺต โมโลเกนฺตา พฺราหฺมณา กุสหตฺถนรํ ปสฺสิตฺวา มาเปนฺติ สา กุสินารา.
กุสีตตา : อิต., กุสิตตฺต นป. ความเป็นคนเกียจคร้าน, ความเกียจคร้าน, ความเฉื่อยชา