ขนฺธ : (ปุ.) ขันธะ ขันธกุมาร ชื่อของขันธกุมาร ๑ ใน ๓ ชื่อ อีก ๒ ชื่อคือ กุมาร สตฺติธร. วิ. ขณฺฑติ ทานผลนฺติ ขนฺโธ. ขฑิ ขณฺเฑ, อ, ฑสฺส ธตฺตํ. ขํ สคฺคํ ธาติ วิทธาตีติ วา ขนฺโธ. ขปุพฺโพ ธา ธารเณ, อ, นิคฺคหิตา คโม.
ขนฺธเทส : (ปุ.) ที่ที่คอ, ที่ที่คอช้างตรงควาญ ช้างนั่ง. ดูรูปภาพจิตรกรรมประกอบ. วิ. ขนฺโธ เอว เทโส ขนฺธเทโส.
ขนฺธธาตุอายตนาทิเภท : (วิ.) อันต่างด้วย ธรรมมีขันธ์และธาตุและอายตนะเป็นต้น. เป็น ต.ตัป. มี ส. ทวัน. และ ฉ. ตลุ เป็นท้อง.
ขนฺธปริหรณทุกฺข : (นปุ.) ทุกข์ในเพราะอันบริหารซึ่งขันธ์
ขนฺธเภท : (ปุ.) การทำลายขันธ์ (แตกดับ สิ้นชีวิต ตาย).
ขนฺธสนฺตาน : (นปุ.) ความสืบต่อแห่งขันธ์.
กาลกฺขนธ กาฬกฺขนฺธ : (ปุ.) มะพลับ.
ขนฺธาวาร : (ปุ.) สถานที่เป็นที่กั้นด้วยท่อนไม้, ประเทศล้อมโดยรอบด้วยสิ่งทั้งหลายมีท่อน ไม้เป็นต้น, ทั้พรั้ง (การระวังรักษาทัพ), กองทัพ, ทัพไชย, ค่าย. วิ. ทารุกฺ ขนฺธาทีหิ อา สมนฺตโต วรนฺติ ปริกฺขิปนฺติ เอตฺถาติ ขนฺธาวาโร. ขนฺธ อา ปุพฺโพ, วรฺ อาวรณอจฉาทเนสุ, โณ.
กาฬขนฺธ : (ปุ.) มะพลับ.
ตมขนฺธ : ป. ความมืดทึบ, ความมืดตื้อ
ตาลกฺขนฺธ : ป. ต้นตาล, ลำตาล
ทารุกฺขนฺธ : ป. ขอนไม้, กองฟืน
ทุกฺขกฺขนฺธ : ป. กองทุกข์, หมวดทุกข์
ธมฺมกฺขนฺธ : ป. ธรรมขันธ์, หมวดธรรม, กองธรรม
ธมฺมขนฺธ : (ปุ.) กองแห่งธรรม, หมวดแห่ง ธรรม, ฯลฯ, ธรรมขันธ์คือธรรมข้อหนึ่งๆ
นงฺคลสีสมตฺตขนฺธ : (วิ.) มีลำต้นมีงอนแห่ง ไถเป็นประมาณ. เป็น ฉ.ตุล. มี. ฉ.ตัป. และ ฉ.ตุล เป็นภายใน.
ปญฺจขนฺธ : ป. ขันธ์ห้า (รูป, เวทนา, สัญญา, สังขาร, วิญญาณ)
ปตฺตกฺขนฺธ : ค. ซึ่งคอตก, ซึ่งเศร้าใจ, ซึ่งตรอมใจ, ซึ่งผิดหวัง
ปุญฺญกฺขนฺธ : ป. กองแห่งบุญ
ปุริมวโยขนฺธ : (ปุ.) ตอนของวัยต้น, ตอนวัยต้น.
โภคกฺขนฺธ : ป. กองสมบัติ
มชฺฌิมวโยขนฺธ : (ปุ.) ตอนวัยกลาง.
มณิกฺขนฺธ : ป. แท่งแก้วมณี, กองแก้วมณี
รชกฺขนฺธ : ป. กองกิเลส
อคฺคิกฺขนฺธ : ป. กองไฟ
อุปขนฺธ : ป. ส่วนบนของลำตัว, หลัง, ไหล่
อุปาทานกฺขนฺธ : ป. ความยึดถือขันธ์
กุมาร : (ปุ.) กุมาร ชื่อของขันธกุมารชื่อ ๑ ใน ๓ ชื่ออีก ๒ ชื่อคือ ขนฺธ สตฺตธร.
ขนฺธก : (ปุ.) ต้น, ลำต้น. ขาทฺ ภกฺขเณ, โก. แปลง ขาทฺ เป็น ขนฺธ ไม่ลบ ก ปัจ. รูปฯ ๖๕๘.
กลฺยาณปุถุชฺชน : (ปุ.) ปุถุชนผู้งาม วิ. เยสํ ขนฺธธาตุอายตนาทีสุ อุคฺคหปริปุจฺฉาปจฺจ เวกฺขณานิ อตฺถิ เต กลฺยาณปุถุชฺชนา.
ชนก : (วิ.) (กรรม) อันยังวิบากขันธ์และกัม- มัชรูปให้เกิด วิ. วิปากขนฺธกกมฺมชฺชรูปา- นิ ชเนตีติ. ชนกํ. ชนฺ ชนเน, ณฺวุ.
อุปาทาน : (นปุ.) การถือมั่น การยึดมั่น (ในสิ่งนั้น ๆ), การยึดไว้, ความถือมั่น, ฯลฯ, ธรรมชาติเป็นเครื่องเข้าไปถือเอา, ของกำนัล ที่ส่งไปให้, เชื้อ, เชื้อไฟ, ฟืน. อุป อา ปุพฺโพ, ทา ทานอาทาเนสุ, ยุ. ส. อุปทาน. อุปาทานกฺขนฺธ
ขนฺธาวรรณ : (นปุ.) กองทัพ, พลับพลาชัย.