Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ขยัน , then ขยน, ขยัน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ขยัน, 36 found, display 1-36
  1. ฆฏน : (วิ.) หมั่น, ขยัน, รวมกัน, ติดต่อกัน, สืบต่อ, เบียดเบียน.
  2. ชาคร : (วิ.) ตื่น (จากหลับ), ขยัน, หมั่น, เพียร. ส. ชาคร.
  3. ทกฺข : (วิ.) มีฝีมือ, ขยัน, ขันแข็ง, แข็งแรง, ฉลาด, สามารถ, เร็ว, ว่องไว, คล่องแคล่ว, ชำนาญ, เหมาะ, สันทัด. วิ. ทกฺขติ กุสลธมฺเม อญฺญสฺมิญฺจ กิจฺจากิจฺเจ อทนฺธตาย สีฆํ คจฺฉตีติ ทกฺโข. ทกฺขฺ วุฑฺฒิหึสาคติสีเฆสุ, อ. ทลฺ ทิตฺติยํ วา, โข, ลสฺส โก. ส. ทกฺษ.
  4. อเปกฺข : (วิ.) หมั่น, ขยัน, กระตือรือร้น.
  5. อีหติ : ก. พยายาม, เพียร, ขยัน, ใฝ่ใจ, คิด, รู้
  6. อุฏฐหติ : ก. ลุกขึ้น, ตั้งขึ้น, ก่อ, พยายาม, ขยัน
  7. อุฏฺฐา น : (วิ.) ลุกขึ้น, ตั้งขึ้น, กล้า, ขยัน, หมั่น, เพียร.
  8. เปสล : (วิ.) มีฝีมือ, เก่ง, ฉลาด, เชี่ยวชาญ, ชำนาญ, ขยัน. ปิสฺ หึสาพลทานนิเกตเนสุ, อโล.
  9. สีฆตุถ : (วิ.) คล่อง, ฯลฯ, เชี่ยว, ฉลาด, ขยัน.
  10. อตนฺทิต : (วิ.) ไม่เกียจคร้าน, ขยัน.
  11. อนลส : (วิ.) ไม่เกียจคร้าน, ขยัน.น+อลส.
  12. กึกรณีเยสุทกฺขตา : (อิต.) ความเป็นแห่งคนผู้ขยันในกิจการท. อันตนพึงทำด้วยอันถามว่าจะทำอะไร, ความเป็นผู้ขยันในกิจการทั้งปวง.
  13. ฆฏนา : (อิต.) ความหมั่น, ความขยัน. มฏฺวายามกรเณ. การรวมกัน, การติดต่อกัน, การเชื่อม. ฆฏฺ สงฺฆาเต. การตี, การเบียดเบียน, การฆ่า, การประหาร ฆฏฺ หนเน, ยุ ปัจ.
  14. นิกฺโกสชฺช : (ปุ.) คนมีความเกียจคร้านออก แล้ว, คนไม่เกียจคร้าน, คนหมั่น, คนขยัน. วิ. โกสชฺชํ ยสฺส นตฺถีติ นิกฺโกสชฺโช.
  15. ปยตน : (นปุ.) ความพยายาม, ความหมั่น, ความขยัน, ปปุพฺโพ, ยตฺ ปฏิยตเน, ยุ.
  16. พฺยปฺปถ : ค. ผู้มีความขวนขวาย, ผู้ขยัน, ผู้หมั่นเพียร
  17. ยติ : (ปุ.) ความเพียร, ความขยัน, คนขยัน, ยตฺ ปยตเน, อิ.
  18. โยคี : (วิ.) ผู้มั่นคง, ฯลฯ, ผู้เพ่ง, ผู้ขยัน, ฯลฯ.
  19. อกิลาสุ : (ปุ.) คนไม่เกียจคร้าน, คนหมั่น, คนขยัน.
  20. อาตาป : (ปุ.) ความเพียรเป็นเครื่องยังกิเลสให้เร่าร้อน, ความร้อน, ความยังกิเลสให้ร้อน, ความเพียรเผากิเลส, ความขยัน, ความเข้มแข็ง, ความเพียร. วิ.อาสมนฺตโตตาเปตีติอาตาโป.
  21. อายตฺตตมน : ค. ผู้มีใจขวนขวาย, ผู้ขยัน
  22. อายตฺตตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้พึ่งพิง, ฯลฯ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ขยัน, ฯลฯ.
  23. อีหน : นป. อีหา อิต. ความเพียรพยายาม, ความขยัน, ความดำริ, ความรู้
  24. อีหา : (อิต.) ความเพียร, ความพยายาม, ความหมั่น, ความขยัน, ความปรารถนา, ความใส่ใจ, ความเจริญ. อีหฺ เจตายํ, อ. อิ คมเน วา, โห. อถวา, อีหฺ เชฏฐายํ . ส. อีหา.
  25. อุกฺกม : (ปุ.) ความขยัน, ฯลฯ. อุปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ, ยุ.
  26. อุกฺกมน : (นปุ.) ความขยัน, ฯลฯ. อุปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ, ยุ.
  27. อุฏฐหน : นป. ความลุกขึ้น, ความเพียรพยายาม, ความขยัน
  28. อุฏฐาตุ : ป. ผู้ลุกขึ้น, ผู้มีความขยันหมั่นเพียร
  29. อุฏฺฐา ตุ : (วิ.) ผู้ขยัน
  30. อุฏฺฐาน : (นปุ.) การลุกขึ้น, การตั้งขึ้น, การลุกรับ, การออดก (จากครรภ์), การคลอด ลูก, ความขยัน, ฯลฯ. ความเพียรเป็นเครื่อง ลุกขึ้น. อุปุพฺโพ, ฐาคตินิวุตฺติยํ, ยุ, ฏฺสํ โยโค. ส. อุตฺถาน.
  31. อุฏฐายก : ก. ผู้มีความเพียรเป็นเหตุให้ลุกขึ้น, ผู้ขยัน
  32. อุฏฺฐา ยิ : (วิ.) ผู้ลุกขึ้น, ผู้ขยัน
  33. อุฏฐิต : ๑. กิต. ตั้งขึ้นแล้ว, ลุกขึ้นแล้ว; ๒. ค. ผู้ขยัน, ผู้ลุกขึ้นประกอบการงาน
  34. อุยฺยาม : (ปุ.) ความเพียร, ความหมั่น, ความพยายาม, ความขยัน, ความขยันขันแข็ง, การตั้งหน้าทำ. วิ. อุทฺธํ ยนฺติ เยน โส อุยฺยาโม. อุทฺธํปุพฺโพ, ยา คมเน, โม. ส. อุทฺยาม.
  35. ขย ขยน : (นปุ.) ที่อยู่, ฯลฯ. ขี นิวาเส, อ, ยุ.
  36. ขียน : (นปุ.) ความสิ้น, ความเสื่อม. ขี ขเย, ยุ. แปลง อี เป็น อีย.
  37. [1-36]

(0.0134 sec)