สาขา : (อิต.) กิ่ง, กิ่งไม้, ก้าน, สิ่งย่อย, ส่วนย่อย, ห้วย. สาขฺ พฺยาปเน, อ. ส. ศาขา.
สาขานคร : (นปุ.) เมืองเป็นสาขา, สาขานคร คือ ดินแดนที่แยกออกเป็นส่วนหนึ่ง.
สาขามิค : (ปุ.) ลิง, เสน. วิ. สาขายํ มิโค ปสุ สาขามิโค.
ตต : (วิ.) แผ่, แผ่ไป, ขยาย, กว้างขวาง., แพร่หลาย. ตนุ วิตฺถาเร, โต, นฺโลโป.
ปจฺจงฺค : นป. ส่วนย่อย, สาขา
ผุลฺล : (วิ.) แผ่, ขยาย, กระจาย, แผ่ไป, กระจายไป. ผุลฺ ผรเณ, โล.
มาลา : (อิต.) ระเบียบ, แถว, แนว, ถ่องแถว, โครง, แผน, หมวด, สาขา, สร้อยคอ, สาย, ดอกไม้, พวง, พวงดอกไม้. วิ. มียติ ปริมียตีติ มาลา. มา มาเน, โล, อิตฺถิยํ อา. มลฺ ธารเณ วา, อ. มา ภมรา ลสนฺติ เอตฺถ ปิวเนนาติ วา มาลา, มาปุพฺโพ, ลสฺ กนฺติยํ, กฺวฺ ลบที่สุดธาตุ.
วิกสติ : ก. แย้ม, ขยาย
วิตฺถาเรติ : ก. กว้างขาวง, ชี้แจง, ขยาย
องฺคลฏฺฐิ : อิต. หน่อ, สาขา
กรสาขา : อิต. นิ้วมือ, นิ้วเท้า
ปสาขา : อิต. กิ่งไม้เล็กๆ
สาขี : (ปุ.) ต้นไม้. วิ. สาขา อสฺสาตฺถีติ สาขี.
อาลินฺท : (ปุ.) ระเบียง, หน้ามุข, พะไล, เพิง. วิ. อลิ สาขา อินฺโท เอตฺถาติ อาลินฺโท. ทีฆะ. ส. อาจินฺท ชานบ้าน. อาลี
ชาติมาลา : (อิต.) แผนแห่งชาติ, สาขาแห่ง ชาติ, แผนแห่งเครือญาติ, โครงแห่ง ตระกูล.
ตนฺต ตนฺตร : (นปุ.) การแผ่, การแผ่ไป, การขยาย, การขยายไป. ตนุ วิตฺถาเร, ต, ตรณฺ ปัจ. รูป ฯ ๖๕0.
ตนน : (นปุ.) การแผ่, การแผ่ไป, การขยาย, การขยายไป, ความแพร่หลาย, ความกว้างขวาง. ตนุ วิตฺถาเร, ยุ.
ตโนติ : ก. แผ่ออก, ขยายออก, เหยียดออก
นิกฺกม : (ปุ.) อันก้าวออก, อันออกไป, อันก้าว ออกไป, อันขยายออกไป, การก้าวออก. ฯลฯ, ความเพียร.
นิกุล : (นปุ.) วงศ์อันขยายออกไป. นิกฺกม+กุล.
ปตารณ : นป. การยกขึ้นให้สูง, การขยายตัว
ปริต : (ปุ.) ความแผ่ไป, ความขยาย, ความกว้าง. ปริปุพฺโพ, ตนุ วิตฺถาเร, โร. กัจฯ ๖๓๙ วิ. ปริ ตโนตีติ ปริโต. กฺวิ ปัจ.
ปสารณ : นป. การแผ่ออก, การเหยียดออก, การขยายออก
ปสาริต : ค. อันเขาให้แผ่ออกแล้ว, อันเขาให้เหยียดออกแล้ว, อันเขาขยายออกแล้ว
ผาลิต : ค. ซึ่งเปิดออก, ซึ่งแตกออก, ซึ่งขยายออก,ซึ่งยืดออก
ผุล ผุลน : (นปุ.) อันสั่งสม, อันสะสม, อันรวบรวม, อันแผ่, อันขยาย, การสั่งสม, ฯลฯ, ความสั่งสม, ฯลฯ. ผุลฺ สญฺจเย ผรเณ จ, อ, ยุ.
วิกาส : ป. การแย้ม, การขยาย
วิตฺถมฺภนฺ : นป. การสูบควัน, การกระจาย, การขยายตัว, การพอง
วิตฺถมฺเภติ : ก. สูบควัน; กระจาย, ขยายตัว, พอง
อตฺถาธิปาย : (ปุ.) การอธิบายซึ่งอรรถ, อธิบายซึ่งอรรถ, อัตถาธิบาย (การขยายความ).
อตฺถาร : ป. การขยาย, การแผ่, การขึง
อธิปายอธิปฺปาย : (ปุ.) สภาพเป็นที่อาศัยแห่งจิต, สภาพผู้อาศัยซึ่งจิตนอนอยู่, ความประสงค์, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความเป็นใหญ่, การออกความเห็นการอธิบาย (ขยายความชี้แจง), วิ.อธิปยติจินฺเตตีติอธิปฺปาโย.อธิปียเตติวาอธิปฺปาโย.อธิปุพฺโพ, ปยฺคมเน, โณ.อิวาคมเน, โณ, ปฺอาคโม.อถวา, โยอตฺโถปณฺฑิเตนอธิปียเตโสอตฺโถอธิปฺปาโย.ส. อภิปฺราย
อธิปาย อธิปฺปาย : (ปุ.) สภาพเป็นที่อาศัยแห่ง จิต, สภาพผู้อาศัยซึ่งจิตนอนอยู่, ความประ สงค์, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความเป็นใหญ่, การออกความเห็น การอธิบาย (ขยายความชี้แจง), วิ. อธิปยติ จินฺเตตีติ อธิปฺปาโย. อธิปียเตติ วา อธิปฺปา โย. อธิปุพฺโพ, ปยฺคมเน, โณ. อิ วา คมเน, โณ, ปฺอาคโม. อถวา, โย อตฺโถ ปณฺฑิเตน อธิปียเต โส อตฺโถ อธิปฺปาโย. ส. อภิปฺราย
อุกฺกุฏิก : (วิ.) กระหย่ง, กระโหย่ง. (ทำให้สูงขึ้นหรือทำสิ่งที่รวมกันอยู่ให้ ขยายตัวขึ้น).
อุปพฺรูหน : นป. ความเจริญ, การเพิ่มขึ้น, การขยายตัว
อุสฺสนฺน : ค. เต็มเปี่ยม, หนาขึ้น, สูงขึ้น; เดียรดาษ; ทาด้วย; ขยายออก, แผ่ออก
โอตฺตร : (นปุ.) การไข, การขยาย, การอธิบาย. อุปุพฺโพ, ตรฺ ตรเณ, โณ. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ ซ้อน ตฺ.
ปสาข : ป., นป. กิ่งไม้, ค่าคบไม้
เวสาข : ป. ชื่อเดือน ๖