ตต : (วิ.) แผ่, แผ่ไป, ขยาย, กว้างขวาง., แพร่หลาย. ตนุ วิตฺถาเร, โต, นฺโลโป.
ปภาว : (ปุ.) เดชเกิดจากการมีอำนาจลง อาชญา, เดชเกิดแต่อาชญา, ( ทณฺฑโช เตโช ) , อำนาจ, ฤทธิ์. วิ. ปภวนฺติ เตชสฺ สิโน อเนเนติ ปภาโว. ปปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, โณ.
ผุลฺล : (วิ.) แผ่, ขยาย, กระจาย, แผ่ไป, กระจายไป. ผุลฺ ผรเณ, โล.
วิกสติ : ก. แย้ม, ขยาย
วิตฺถาเรติ : ก. กว้างขาวง, ชี้แจง, ขยาย
สามตฺถ สามตฺถิย : (ปุ.) ความอาจ, ความองอาจ, ความสามารถ, ความแข็งแรง, อำนาจ, กำลัง.
อาณา : (อิต.) การบังคับ, ความบังคับ, คำสั่ง, คำสั่งบังคับ, อำนาจ, อำนาจปกครอง, อาชญา, อาญา.อาณฺเปสเน, อ, อิตฺถิยํอา.ส. อาชฺญา.
อินฺทิย อินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่, ร่าง กาย, ร่างกายและจิตใจ, กำลัง, กำลังกาย, อำนาจ, ความรู้สึก, สติปัญญา, ประสาท, หน้าที่, อินทรีย์ (ความเป็นใหญ่ในกิจ นั้น ๆ). วิ. อินฺโท อตฺตา, ตสฺส ลิงฺคํ อินฺทิยํ อินฺทริยํ วา. อิย ปัจ. อินฺทติ ปรมิสฺสริยํ กโรตีติ วา อินฺทิริยํ. อิทิ ปรมิสฺสริเย, อิโย. ศัพท์หลังแปลง ท เป็น ทฺร. ส. อินฺทริย.
อินฺทุริย : นป. อินทรีย์, อำนาจ, ความเป็นใหญ่
จริยวส จริยาวส : (ปุ.) อำนาจแห่งจริยาอัน ตนพึงประพฤติ, อำนาจแห่งจริยะ, อำนาจ แห่งจริยา.
กนฺติ : (อิต.) ความปรารถนา, ความอยากได้, ความรัก, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความยินดี, ความต้องการ, อำนาจ. กมุ อิจฺฉากนฺตีสุ, ติ แปลง ติ เป็น นฺติ ลบที่ สุดธาตุ. ความงาม, ความสวยงาม, ความรุ่งเรือง, รัศมี, แสง. วิ. กนตีติ กนฺติ. กนนํ วา กนฺติ. กนฺ. ทิตติยํ, ติ. การก้าว ไป, ความก้าวไป. วิ. กมนํ กนฺติ. กมฺปท วิกฺเขเป, ติ.
เตชสี เตชสฺสี : (วิ.) ผู้มีอำนาจ, ผู้มีเดช (อำนาจ). วิ. เตโช อสฺส อตฺถีติ เตชสี เตชสฺสี วา. สี ปัจ. ศัพท์หลังซ้อน สฺ หรือ แปลง สี เป็น สฺสี.
ภาตพฺย : (ปุ.) ลูกของพี่ชาย วิ. ภาตุโน ปุตฺโต ภาตโพฺยฺ. ณฺย ปัจ. โคตตตัท. แปลง อุ ที่ ตุ เป็น อว ว เป็น พ ลบ อ ที่ ว ด้วย อำนาจ ณฺ ลบ ณฺ รูปฯ ๓๕๕.
วส : ป. อำนาจ
กมฺมพล : นป. กำลังแห่งกรรม, อำนาจของกรรม
กมฺมวฏฏ : (นปุ.) ความวนด้วยอำนาจแห่ง กรรม, ความวนแห่งกรรม, การท่องเที่ยว ไปด้วยอำนาจแห่งกรรม, การท่องเที่ยวไป ด้วยอำนาจแห่งผลของกรรม, วนคือกรรม.
กมฺมาภิสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่งคือกรรม, การปรุงแต่งขึ้นด้วยกรรม, การปรุงแต่ง ขึ้นด้วยอำนาจแห่งกรรม.
กาปญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันคน ควรกรุณา, ความเป็นแห่งคนผู้ควรสงสาร. กปณ ศัพท์ ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ทีฆะต้น ศัพท์ ลบ อ ที ณ ด้วยอำนาจ ปัจ. ได้รูป เป็น ณฺ ลบ ณฺ ของปัจ. เหลือ ย รวมกับ ณฺ ที่สุดศัพท์ เป็น ณฺย แปลง ณฺย เป็น ญฺญ.
กามพฺยาปาทวิหึสาวิตกฺกวสิกตา : (อิต.) ความเป็นแห่ง...เป็นผู้เป็นไปในอำนาจแห่งกาม วิตก และพยาบาทวิตก และวิหิงสาวิตก, ความที่แห่ง...เป็นผู้เป็นไปในอำนาจ....
กามวสิก : ค. ผู้ตกอยู่ในอำนาจกาม
โกปนฺตร : ค. ผู้ตกอยู่ในอำนาจความโกรธ
โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
จกฺกเภท : ป. การหักรานจักร, การกำจัดอำนาจ
จกฺกวาลรชฺช : นป. ราชสมบัติในรอบจักรวาล, ความเป็นพระราชาผู้มีอำนาจทั่วจักรวาล
เจโตวสิปฺปตฺต : ค. ผู้ถึงความเป็นผู้ชำนาญทางใจ, ผู้มีอำนาจเหนือจิต
เจโตวิมุตฺติ : (อิต.) ความหลุดพ้นด้วยอำนาจ แห่งใจ. ความหลุดพ้นที่มีสมาธิเป็น ปทัฏฐาน คือได้บรรลุฌานมาก่อนแล้วจึง บำเพ็ญวิปัสสนาต่อจนละกิเลสาสวะได้ เรียกว่า เจโตวิมุติ. ลำพังฌาน ไม่สามารถ ละกิเลสาสวะได้เด็ดขาด เป็นแต่สะกดไว้ อย่าเข้าใจผิด.
ฉนฺท : (ปุ.) สภาพผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความตั้ง ใจ, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความปรา- รถนา, ความต้องการ, ความอยาก, ความอยากได้, ความมุ่งหมาย, ความยินดี, ความรัก, ความรักใคร่, ความสมัคร, ความสมัครใจ, ความเต็มใจ, ความอยู่ในอำนาจ, อัธยาศัย, ตัณหา, พระเวท. ฉนฺทฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ฉนฺท. ฉนฺท ฉันท์ ชื่อคำประพันธ์อย่าง ๑ มีหลาย ชื่อ มีหลักการวางคำ ครุ ลหุ และจำนวน คำแต่ละบาทต่างๆ กัน วิ. วชฺชํ ฉาทยตีติ ฉนฺทํ. ฉทฺ สํวรเณ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ส. ฉนฺทสฺ.
ฉนฺทาธิปเตยฺย : ค. ตกอยู่ในอำนาจความรักใคร่หรือพอใจ, มีความรักใคร่พอใจเป็นใหญ่
ชาลตณฺหา : อิต. ข่ายคือตัณหา, อำนาจความอยาก, ความดิ้นรน
ฐานานุกฺกม : (ปุ.) อันก้าวไปตามซึ่งตำแหน่ง, ความก้าวไปตามฐานะ, ฐานานุกรม ชื่อ ลำดับตำแหน่งสมณศักดิ์พระสงฆ์ ซึ่งพระ ราชาคณะมีอำนาจตั้งสมณศักดิ์ให้ตามที่ ท่านได้มาเมื่อรับพระราชทานสมณศักดิ์.
ตณฺหาคต : ค. อันตกอยู่ในอำนาจตัณหา, อันตัณหาครอบงำแล้ว
ตณฺหาวสิก : ค. ผู้ตกอยู่ในอำนาจของตัณหา
ตนฺต ตนฺตร : (นปุ.) การแผ่, การแผ่ไป, การขยาย, การขยายไป. ตนุ วิตฺถาเร, ต, ตรณฺ ปัจ. รูป ฯ ๖๕0.
ตนน : (นปุ.) การแผ่, การแผ่ไป, การขยาย, การขยายไป, ความแพร่หลาย, ความกว้างขวาง. ตนุ วิตฺถาเร, ยุ.
ตโนติ : ก. แผ่ออก, ขยายออก, เหยียดออก
ทิฏฐปาทาน : (นปุ.) ความถือมั่นด้วยอำนาจความเห็น, ความยึดมั่นด้วยอำนาจความเห็น.
นนฺทิราค : (ปุ.) ความกำหนัดด้วยสามารถแห่งความเพลิดเพลิน, ฯลฯ, ความกำหนัด ด้วยสามารถแห่งตัณหาเป็นเครื่องเพลิด เพลิน, ฯลฯ, ความกำหนัดด้วยอำนาจแห่งตัณหาเครื่องเพลิดเพลิน, ฯลฯ.
นิกฺกม : (ปุ.) อันก้าวออก, อันออกไป, อันก้าว ออกไป, อันขยายออกไป, การก้าวออก. ฯลฯ, ความเพียร.
นิกุล : (นปุ.) วงศ์อันขยายออกไป. นิกฺกม+กุล.
นิตฺเตช : ค. ซึ่งไม่มีเดช, ซึ่งหมดอำนาจ, อายเหนียม
ปฏิสงฺขานพล : นป. กำลังแห่งการพิจารณา, ธรรมที่เป็นกำลังคือการพิจารณา, อำนาจการพิจารณา
ปตารณ : นป. การยกขึ้นให้สูง, การขยายตัว
ปพล : ค. มีกำลังมาก, มีกำลังแข็งแรง, มีอำนาจ, สามารถ
ปมทฺที : ค. ผู้ย่ำยี, ผู้เหยียบย่ำ, ผู้ปราบปราม, ผู้สามารถเอาชนะ, ผู้มีอำนาจ
ปรวสตฺต : นป. ความมีอำนาจเหนือผู้อื่น
ปริต : (ปุ.) ความแผ่ไป, ความขยาย, ความกว้าง. ปริปุพฺโพ, ตนุ วิตฺถาเร, โร. กัจฯ ๖๓๙ วิ. ปริ ตโนตีติ ปริโต. กฺวิ ปัจ.
ปสยฺห : อ. โดยอำนาจ, อย่างมีอำนาจ, อย่างมีกำลัง, โดยบังคับ
ปสารณ : นป. การแผ่ออก, การเหยียดออก, การขยายออก
ปสาริต : ค. อันเขาให้แผ่ออกแล้ว, อันเขาให้เหยียดออกแล้ว, อันเขาขยายออกแล้ว
ปุญฺญสิทฺธิ : อิต. อำนาจอันอัศจรรย์ของบุญ