ปริยาปุณาติ : ก. เล่าเรียน, ขวนขวาย
วฺยาวฏ : ค. มีธุระมาก, ว่องไว, ตั้งใจ, ขวนขวาย
อุยฺยุญฺชติ : ก. ประกอบ, ขวนขวาย, เพียร; ส่งไป
อนุยุตฺต : (วิ.) ประกอบเนืองๆ, ประกอบบ่อยๆ, ขวนขวาย.
กตโยคฺค : ค. ผู้ทำความขวนขวายแล้ว
กีฬาปสุต : ค. ผู้ขวนขวายในการเล่น, ผู้ใส่ใจในการกีฬา
ทานพฺยาวฏ : ค. ผู้ขวนขวายในการบริจาคทาน, ผู้จัดแจงทาน
ทานโสณฺฑ : (วิ.) ผู้ขวนขวายในการให้, ผู้ โอบอ้อมอารี. วิ. ทาเน โสณฺโฑ ปสุโต ทานโสณฺโฑ.
นิพฺยาปารฏฐติ : (อิต.) ความตั้งอยู่แห่งชีวิต หาการงานมิได้, ความตั้งอยู่แห่งบุคคลผู้ มีความขวนขวายออกแล้ว, ความดำรง ชีวิตอยู่ของคนเกียจคร้าน.
นิยุญฺชติ : ก. ขวนขวาย, ประกอบ, ทำให้เหมาะสม
นิยุตฺต : ค. อันขวนขวายแล้ว, อันประกอบแล้ว, ผู้อัน...สั่งแล้ว
นิโยชก : ค. ผู้ประกอบ, ผู้ขวนขวาย
ปยตฺต : ค. ผู้ขวนขวาย, ผู้พยายาม, ผู้ระมัดระวัง, ผู้เอาใจใส่
ปยุตฺต : กิต. (อันเขา) ประกอบแล้ว, เทียมแล้ว, นำไปใช้แล้ว, ประยุกต์แล้ว, ตั้งใจแล้ว, ขวนขวายแล้ว, แต่งขึ้นแล้ว, ลงมือทำแล้ว, วางแผนแล้ว
ปริยาปุต : กิต. เล่าเรียนแล้ว, ขวนขวายแล้ว
ปสุต : ค. ขวนขวายแล้ว, ประกอบแล้ว, กระทำแล้ว
ปาวฏ, ปาวต : ค. ขวนขวายแล้ว
พฺยปฺปถ : ค. ผู้มีความขวนขวาย, ผู้ขยัน, ผู้หมั่นเพียร
พยาปาร : (ปุ.) ความขวนขวาย. วิ อา ปุพฺโพ, ปรฺ คติยํ, โณ.
ยตน : นป. ความพยายาม, ความขวนขวาย
วฺยาปาร : ป. ความขวนขวาย, การอาชีพ
เวยฺยาวจฺจ : นป. การขวนขวายช่วยเหลือ
เวยฺยาวจฺจกร : ป. ผู้ทำการขวนขวายช่วยเหลือ
สมนุยุญฺชติ : ก. ขวนขวาย, ประกอบตาม
สุต : (วิ.) ฟัง, สดับ, ได้ยิน, ได้ฟัง, ไหล, ไหลไป, เปียก, ชุ่ม. สุ สวเน, โต. เบียดเบียน, ผูก, จำ, สะสม, ติดต่อ, ละเอียด, ป่น. สุ อภิสเว. ขวนขวาย, แสวงหา, ปรากฏ, มีชื่อเสียง. สุ คติวุทีสุ.
สุยุตฺต : ค. ประกอบดีแล้ว, ขวนขวายแล้ว
อกิจฺฉน : (วิ.) หมดความขวนขวายในการงาน วิ. นตฺถิ กิญจนํ ยสฺส โส อกิญฺจโน.จน, เข็ญใจ.วิ.นตฺถิกิญฺจนํ อปฺปมตฺตมฺปิธนํ ยสฺส โส อกิญฺจโน. ส. อกิญจน.
อนายูทนฺต : กิต. ไม่พยายาม, ไม่ขวนขวาย
อนายูหน : นป. ความไม่พยายาม, ความไม่ขวนขวาย
อนุโยคี : ค. ผู้ตามประกอบ, ผู้ขวนขวาย
อนุสฺสุก : ค. ไม่มีความขวนขวาย, ไม่กระตือรือร้น
อปฺโปสฺสุกฺก : ค. มีความขวนขวายน้อย, ซึ่งไม่พยายาม
อปฺโปสฺสุกตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่ขวนขวาย, ความเป็นผู้ไม่พยายาม
อพฺยาวฏ : (วิ.) ไม่ขวนขวาย, ไม่กระตือรือร้น.
อภิตฺถรติ : ก. รีบทำ, รีบขวนขวาย
อภิยุญฺชน : นป. การขวนขวาย, การปฏิบัติ; การสอบสวน
อวฺยาวฏ : ค. ไม่ห่วง, ไม่กังวล, ไม่ขวนขวาย, ประมาท, สะเพร่า, เพิกเฉย
อายตฺตตมน : ค. ผู้มีใจขวนขวาย, ผู้ขยัน
อิสฺสุกี : (วิ.) ผู้มีความขวนขวาย. อิสฺ อุญฺเฉ, อุกี.
อุยฺยุตฺต : ค. พยายามแล้ว, เพียรประกอบแล้ว, ขวนขวายแล้ว, ถูกส่งไปแล้ว
อุยฺโยชน : นป. การขวนขวาย; การส่งไป
อุสฺสุก : ค. ผู้ขวนขวาย, ผู้กระตือรือร้น
อุสฺสุกฺก : นป. ความพยายาม, ความขวนขวาย
อุสฺสุกฺกติ : ก. ความขวนขวาย, พยายาม
อุสฺสุกฺกาเปติ : ก. ให้ขวนขวาย, ชักนำ, ปลุกใจ
อุสฺสุก อุสฺสุกฺก : (วิ.) ผู้ขวนขวาย, ผู้ขะมัก- เขม้น, ผู้กระตือรือร้น. อิฏฺฐ ตฺเถ อภิมต ปฺปโยชเน อุยฺยุโต ปุคฺคโล อุสฺสุโก นาม. ฏีกาอภิฯ.
อุสฺสุกิต : ค. ผู้ขวนขวาย, มักใช้ในรูปปฏิเสธเป็น อนุสฺสุกิต ไม่ขวนขวาย