ขนฺธ : (ปุ.) ขันธะ ขันธกุมาร ชื่อของขันธกุมาร ๑ ใน ๓ ชื่อ อีก ๒ ชื่อคือ กุมาร สตฺติธร. วิ. ขณฺฑติ ทานผลนฺติ ขนฺโธ. ขฑิ ขณฺเฑ, อ, ฑสฺส ธตฺตํ. ขํ สคฺคํ ธาติ วิทธาตีติ วา ขนฺโธ. ขปุพฺโพ ธา ธารเณ, อ, นิคฺคหิตา คโม.
อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ส่วน, แผนก, คอต่อ, มุม, องสา, องศา, ขันธ์, วิ.อนติอมติวาเอเตนาติ อํโส. อนฺ ปาณเน, อมํ คมเน วา, โส, นสฺสมสฺสวานิคฺคหีตํ(แปลง นฺ หรือ มฺ เป็น นิคคหิต). อํสฺ สงฺฆาเต วา, อ.อังสะ ชื่อของผ้าที่ภิกษุสามเณรใช้คล้องเฉวียงบ่าจากบ่าซ้ายมาใต้แขนขวาก็มีรากศัพท์มาจากคำนี้สฺอํศอํส.
จตุโรปธิ : (ปุ.) กิเลสเป็นเครื่องยังทุกข์ให้เข้า ไปตั้งไว้สี่, อุปธิสี่. อุปธิ ๔ คือ ขันธ์ กาม กิเลส และกรรม.
โวการ : ๑. ป. ขันธ์ ;
๒. ค. ลามก
สภาวธมฺม : (ปุ.) ความเป็นเอง, สิ่งที่เกิดเอง, สิ่งที่เป็นเอง, หลักแห่งความเป็นเอง, สภาวธัมม์ สภาพธรรม ได้แก่ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรีย์ ๒๒.
กาลกฺขนธ กาฬกฺขนฺธ : (ปุ.) มะพลับ.
ขนฺธธาตุอายตนาทิเภท : (วิ.) อันต่างด้วย ธรรมมีขันธ์และธาตุและอายตนะเป็นต้น. เป็น ต.ตัป. มี ส. ทวัน. และ ฉ. ตลุ เป็นท้อง.
ขนฺธปริหรณทุกฺข : (นปุ.) ทุกข์ในเพราะอันบริหารซึ่งขันธ์
ขนฺธเภท : (ปุ.) การทำลายขันธ์ (แตกดับ สิ้นชีวิต ตาย).
ขนฺธสนฺตาน : (นปุ.) ความสืบต่อแห่งขันธ์.
ชนก : (วิ.) (กรรม) อันยังวิบากขันธ์และกัม- มัชรูปให้เกิด วิ. วิปากขนฺธกกมฺมชฺชรูปา- นิ ชเนตีติ. ชนกํ. ชนฺ ชนเน, ณฺวุ.
ธมฺมกฺขนฺธ : ป. ธรรมขันธ์, หมวดธรรม, กองธรรม
ธมฺมขนฺธ : (ปุ.) กองแห่งธรรม, หมวดแห่ง ธรรม, ฯลฯ, ธรรมขันธ์คือธรรมข้อหนึ่งๆ
ปญฺจขนฺธ : ป. ขันธ์ห้า (รูป, เวทนา, สัญญา, สังขาร, วิญญาณ)
อุปาทานกฺขนฺธ : ป. ความยึดถือขันธ์
กฐินขนฺธก : ป. กฐินขันธ์, ขันธ์ที่ ๗ ของมหาวรรคแห่งพระวินัย, วิภังค์
ขนฺธปญฺจก : (นปุ.) หมวดห้าแห่งขันธ์.
ขนฺธาทิส : (วิ.) เห็นราวกะว่าขันธ์.
ขนฺธิก : (วิ.) ผู้นำไปด้วยขันธ์วิ. ขนฺเธน วหตีติ ขนฺธิโก. ณิก ปัจ.
จตุปริวฏฏ : อ. โดยเวียนรอบสี่, (รู้เบญจขันธ์ตามความเป็นจริง) เป็นสี่ขั้น
มนายตน : (นปุ.) อายตนะ คือ ใจ, มนายนตะ คือ วิญญาณขันธ์. ไตร. ๓๓.
มโนปุพฺพงฺคม : (วิ.) มีใจเป็นสภาพถึงก่อน, มีใจเป็นธรรมถึงก่อน, มีใจเป็นหัวหน้า, มีใจเป็นประธาน. วิ. อุปฺปาทปฺปจฺจยตฺเถนมโน ปุพฺพงฺคโม เอเตสนฺติ มโนปุพฺพงฺคมา (ธมฺมา). คำว่า ธรรม ท. ได้แก่ เวทนขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์.
สมฺมสนญาณ : (นปุ.) ความรู้ในการพิจารณารูปและนามเป็นไตรลักษณ์, ญาณในการพิจารณารูปและนามโดยความเป็นไตรลักษณ์. การกำหนดขันธ์ ๕ คือ ...อาตยนะ ภายใน ๖ คือ ... และชาติโดยความเป็นของไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์โดยความเป็นอนัตตา เรียกว่าสัมมสนญาณ ไตร. ๓๑ ข้อ ๙๙.
อนุปาทิเสส : (วิ.) ไม่มีอุปาทิเป็นส่วนเหลือหมายความว่าไม่มีเบญจขันธ์เหลืออยู่คือเบญจขันธ์ดับไปแล้ว.
อนุวิวฏฺฏ : (นปุ.) อนุวิวัฏฏะชื่อผ้าผืนยาวของมณฑลจีวรและสังฆาฏิจีวรหรือสังฆาฏิชนิด ๕ ขันธ์มีอนุวิวัฏฏะ ด้านซ้าย๒ด้านขวา๒.
อุปาทานขนฺธ : (ปุ.) ขันธ์อัน สัตว์เข้าไปยึดถือไว้, ขันธ์ที่สัตว์เข้าไปถือ มั่น, ขันธ์ที่สัตว์เข้าไปยึดถือไว้.
อุปาทิเสส : (วิ.) มีอุปาทิเป็นส่วนเหลือ, คือ ยังมีเบญจขันธ์เหลืออยู่.
ขนฺธเทส : (ปุ.) ที่ที่คอ, ที่ที่คอช้างตรงควาญ ช้างนั่ง. ดูรูปภาพจิตรกรรมประกอบ. วิ. ขนฺโธ เอว เทโส ขนฺธเทโส.
กุมาร : (ปุ.) กุมาร ชื่อของขันธกุมารชื่อ ๑ ใน ๓ ชื่ออีก ๒ ชื่อคือ ขนฺธ สตฺตธร.
ขนฺธก : (ปุ.) ต้น, ลำต้น. ขาทฺ ภกฺขเณ, โก. แปลง ขาทฺ เป็น ขนฺธ ไม่ลบ ก ปัจ. รูปฯ ๖๕๘.
ขนฺธาวาร : (ปุ.) สถานที่เป็นที่กั้นด้วยท่อนไม้, ประเทศล้อมโดยรอบด้วยสิ่งทั้งหลายมีท่อน ไม้เป็นต้น, ทั้พรั้ง (การระวังรักษาทัพ), กองทัพ, ทัพไชย, ค่าย. วิ. ทารุกฺ ขนฺธาทีหิ อา สมนฺตโต วรนฺติ ปริกฺขิปนฺติ เอตฺถาติ ขนฺธาวาโร. ขนฺธ อา ปุพฺโพ, วรฺ อาวรณอจฉาทเนสุ, โณ.
กาฬขนฺธ : (ปุ.) มะพลับ.
ตมขนฺธ : ป. ความมืดทึบ, ความมืดตื้อ
ตาลกฺขนฺธ : ป. ต้นตาล, ลำตาล
ทารุกฺขนฺธ : ป. ขอนไม้, กองฟืน
ทุกฺขกฺขนฺธ : ป. กองทุกข์, หมวดทุกข์
นงฺคลสีสมตฺตขนฺธ : (วิ.) มีลำต้นมีงอนแห่ง ไถเป็นประมาณ. เป็น ฉ.ตุล. มี. ฉ.ตัป. และ ฉ.ตุล เป็นภายใน.
ปตฺตกฺขนฺธ : ค. ซึ่งคอตก, ซึ่งเศร้าใจ, ซึ่งตรอมใจ, ซึ่งผิดหวัง
ปุญฺญกฺขนฺธ : ป. กองแห่งบุญ
ปุริมวโยขนฺธ : (ปุ.) ตอนของวัยต้น, ตอนวัยต้น.
โภคกฺขนฺธ : ป. กองสมบัติ
มชฺฌิมวโยขนฺธ : (ปุ.) ตอนวัยกลาง.
มณิกฺขนฺธ : ป. แท่งแก้วมณี, กองแก้วมณี
รชกฺขนฺธ : ป. กองกิเลส
อคฺคิกฺขนฺธ : ป. กองไฟ
อุปขนฺธ : ป. ส่วนบนของลำตัว, หลัง, ไหล่
กลฺยาณปุถุชฺชน : (ปุ.) ปุถุชนผู้งาม วิ. เยสํ ขนฺธธาตุอายตนาทีสุ อุคฺคหปริปุจฺฉาปจฺจ เวกฺขณานิ อตฺถิ เต กลฺยาณปุถุชฺชนา.
อุปาทาน : (นปุ.) การถือมั่น การยึดมั่น (ในสิ่งนั้น ๆ), การยึดไว้, ความถือมั่น, ฯลฯ, ธรรมชาติเป็นเครื่องเข้าไปถือเอา, ของกำนัล ที่ส่งไปให้, เชื้อ, เชื้อไฟ, ฟืน. อุป อา ปุพฺโพ, ทา ทานอาทาเนสุ, ยุ. ส. อุปทาน. อุปาทานกฺขนฺธ