โสปานปนฺติ : อิต. ขั้นบันได
อธิโรหนี : อิต. พะอง, บันได
อาโรหณอาโรหนอาโรหินิ : (นปุ.) พะอง, บันได, บันไดก่อด้วยอิฐ.วิ.อารุยฺหเต เยน ตํอาโรหนํ.อาปุพฺโพ, รุหฺชนเน, ยุ.
กเลวร กเลวฬ กเลพร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ซากศพ, ซากผี, ขั้น วิ. กเล วรตีติ กเลวรํ. กลปุพฺโพ, วรฺ สํวรเณ, อ. ไม่ลบ วิภัตติ บทหน้า. ส. กลเวร.
นิสฺเสณี : อิต. บันได
อุณฺหีส : (ปุ. นปุ.) เครื่องประดับหน้า, วงหน้า, กรอบหน้า, เทริด (เครื่องประดับศรีษะ รูปมงกุฏอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า), มงกุฎ พระมงกุฎ ชื่อเครื่องราชกกุธภัณฑ์อย่างที่ ๑ ใน ๕ อย่าง ; ผ้าโพก, หัวบันได, ราว บันได. อุปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, อีโส, วณฺณวิกาโร (เปลี่ยนอักษรคือ แปลง น เป็น ณ). เป็น อุณฺหิส บ้าง. ส. อุษฺณีษ.
อธิโรหณี : (อิต.) พะอง, บันได.วิ.อุทฺธ มาโรหเต เอตายาติ อธิโรหณี. อธิปุพฺโพ, รุหฺปาตุภาเว, ยุ, อิตถิยํอี. เป็นอธิโรหิณีเพราะแปลงอที่หเป็นอิบ้าง.
กกฺกฎกยนฺตก : นป. บันไดมีขอที่ปลายสำหรับเกาะกำแพง
จตุปริวฏฏ : อ. โดยเวียนรอบสี่, (รู้เบญจขันธ์ตามความเป็นจริง) เป็นสี่ขั้น
เตภูมิก : ค. อันมีภูมิสาม, อันเป็นไปในภูมิสาม, มีสามขั้น
เถรภูมิ : (อิต.) ชั้นแห่งพระเถระ, ขั้นแห่ง พระเถระ, ชั้นมั่น, ฐานะมั่น, เถรภูมิ ชื่อ ชั้นหรือฐานะของท่านผู้สอบความรู้ใน พระพุทธศาสนา ได้นักธรรมชั้นเอก หรือ หมายถึงพระผู้ใหญ่มีพรรษาครบ ๑๐ แล้ว.
ทฺวิคุณ : (วิ.) มีขั้นสอง, มีสองชั้น, สองหน, สองเท่า.
นาคทนฺตก : (ปุ.) นาคทันตกะ ชื่อหลักติดไว้ แขวนหมวด เป็นต้น, ไม้แขวนหมวก, ที่ แขวนสิ่งของ, ที่ห้อยของ. โบราณว่า บันไดแก้ว. ส. นาคทนฺต.
นิยฺยูห : (ปุ.) การไหล, การซึม, การไหลซึม, ความไหล. ฯลฯ, ยาง, ยางไม้, เหงือก, ดอกไม้กรองบนศรีษะ, มงกุฎ, ประตู, หลักติดไว้สำหรับแขวนหมวก. โบราณว่า บันไดแก้ว เขมรว่า ไดแก้ว หมายเอาที่ แขวนหมวก. นิปุพฺโพ, อูหฺ วิตกฺเก ปีฑเน วา. อ. ยฺอาคโม, ทฺวิตฺตญจ. ส. นิรฺยูห, นิรฺยฺยูห.
ปนฺนภูมิ : อิต. ระดับแห่งความเจริญของคนที่ถึงขั้นหมดความห่วงใย, เป็นปุริสภูมิที่ ๘ ในลัทธิมักขลิโคสาล
ปรายณ, - ยน : นป. ที่พึ่ง, ที่พำนัก, ที่พักพิง, เครื่องแบ่งเบา, จุดหมายขั้นสุดท้าย, จุดจบ; ในคำสมาสแปลว่า....เป็นที่ไปในเบื้องหน้า, มี....เป็นที่สุด, ตรงต่อ..., เที่ยงต่อ...
ปาฏิกา : อิต. หินที่มีรูปเป็นอัฒจันทร์ที่บันไดบ้านเรือนหรือสำหรับล้างเท้า
พฺรหฺมชาติ : (อิต.) พรหมชาติ ชื่อตำราหมอดูอย่างหนึ่ง มีกฏเกณฑ์การทำนายโดยเลข ๗ ตัว เป็นหลักใหญ่ ยังไม่ถึงขั้นโหราศาสตร์.
พุทฺธภูมิ : อิต. พุทธภูมิ, ขั้นแห่งความเป็นพระพุทธเจ้า
โสปาน : (ปุ. นปุ.) บันได, พะอง. วิ. สห อุปาเนน วตฺตตีติ โสปาโน. แปลง น เป็น ณ โสปาณ บ้าง. ส. โสปาน.
โสปานงฺค : (นปุ.) หัวบันได.
โสปานปาท : ป. เชิงบันได
โสปานสีส : นป. ยอดบันได
หินฺตาล : (ปุ.) ลางลิง ชื่อไม้เถาชนิดหนึ่งชอบขึ้นตามริมแม่น้ำลำคลอง กระไดลิง, บันไดลิง ก็เรียก, เต่ารั้ง ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่งคล้ายต้นหมาก ผลเป็นทะลาย เป็นพวง เต่าร้าง หมากต้น ก็เรียก. วิ ปมาณโต ตาลโต หีโน หินฺตาโล. ปทวิปริยาโย, รสฺโส จ.
อณฺหิส : ป., นป. อุณหิส, กรอบหน้ามงกุฎ, ผ้าโพกศีรษะ; ส่วนของบันได, ยอดบันได
อธิจิตฺต : (นปุ.) ธรรมชาติอันอาศัยซึ่งจิตเป็นไป(จิตฺตสฺส อธิกจฺจ ปวตฺตนํ), จิตยิ่ง, อธิกจิตหมายถึงจิตที่ได้สมาธิถึงขั้นฌาน.วิ.อธิกํจิตฺตํอธิจิตตํ.
อริยปุคฺคล : (ปุ.) บุคคลผู้เจริญ, บุคคลผู้ประเสริฐ, พระอริยบุคคล, ทางพระพุทธศาสนาเรียกบุคคลที่ละกิเลสได้เด็ดขาด (สมุจเฉทป-หาน)ไม่กำเริบอีกเป็นขั้น ๆว่าพระอริย-บุคคล ๆ มี ๔ ชั้นตามที่ละกิเลสได้คือพระโสดาบันพระสกทาคามีพระอนาคามีและพระอรหันต์เป็นชั้นสูงสุดทางพระ-พุทธศาสนา ไม่มีพระอริยบุคคลชั่วขณะหรือชั่วคราวหรือพระอริยบุคคลแต่งตั้งหรือนิพพานชั่วขณะ.
อสงฺเขยฺย : (นปุ.) อสงไชยชื่อมาตรานับขั้นสูงสุด. วิ.อสฺขฺยาตุอสกฺกุเณยฺยตายอสงฺเขยฺยํ(วัตถุอันบุคคลไม่พึงนับ นับไม่ได้).นสํปุพฺโพ, ขฺยาปกถเน, โณฺย.เอาอาเป็นเอ.อภิฯตั้งขาธาตุเณยฺยปัจ.ส.อสํขย.
อุตฺตริมนุสฺสธมฺม : (ปุ.) ธรรมของมนุษย์ ผู้ยิ่ง, ฯลฯ, ธรรมอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, คุณอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, อุตตริมนุสธัม. อุตตริมนุษยธรรม คือคุณธรรม (ความดี ผล) อันเกิดจากการปฏิบัติสมถะ (สมาธิ) ถึงขั้นจิตเป็นอัปปนา หรือจากการปฏิบัติ วิปัสสนาถึงขั้นละกิเลสเป็นสมุจเฉท มีคำ เรียกคุณธรรมนั้น ๆ อีกหลายคำ พระพุทธ เจ้าทรงห้ามภิกษุอวด ปรับอาบัติขั้นสูงถึง ปาราชิก วิ. อุตฺตริมนุสฺสานํ ญายินญฺเจว อริยานญฺจ ธมฺโม อุตฺตริ มนุสฺสธมฺโม.
กูปขณ, - ขน : ป. คนขุดบ่อ, คนขุดหลุม
อิกฺขณ, - ขน : นป. การเห็น, การแลดู
ปณฺณ, - ณก : นป. ใบไม้, ใบไม้สำหรับเขียนหนังสือ, จดหมาย, หนังสือ, ขน, ปีก
อสุ : (ปุ. อิต.) สาย, ด้าย, ขน, ทาง, เส้น, แถว, ข้อ, ข้อเล็กน้อย, ปลายเส้นด้าย, รัศมี, แสง, แสงสว่าง.อมฺคมเน, อุ, สฺอาคโม. ลบ มฺ นิคคหิตอาคม หรือแปลงมฺ เป็น นิคคหิต.
อาขอาขนอาขาน : (ปุ.?)จอบ, เสียม. อาปุพฺ-โพ, ขณุขนุวาอวทารเณ, กวิ, อ, โณ.ส.อาขนอาขาน.
กงฺขน : นป. ความสงสัย,ความลังเลใจ
เตลมกฺขน : นป. การทาด้วยน้ำมัน, การไล้ด้วยน้ำมัน
นกฺขน : (ปุ.) การไป,การดำเนินไป,ความเป็นไป.นกฺขุคติยํ,อ.ความเกี่ยวเนื่อง,ความสัมพันธ์.นกฺขฺสมฺพนฺเธ,อ.
นิกฺขณติ, นิขนติ : ก. ขุด, ฝัง, ตั้งลง
ปริขนติ, (ปฬิขนติ) : ก. ขุด
ปริรกฺขน : นป. การรักษา
ภกฺขณ ภกฺขน : (วิ.) กิน, เคี้ยว, เคี้ยวกิน, กัดกิน, บริโภค.
ภกฺขน : นป. การกิน
ภิกฺขน : (นปุ.) อันขอ, การขอ. ภิกฺขฺ ยาจเน, ยุ.
มกฺขน : (นปุ.) การทา, การทำให้เปื้อน, ยุ ปัจ.
รกฺขณ รกฺขน : (นปุ.) การระวัง, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
รกฺขน : นป. การรักษา, การดูแล
รกฺขนสทิส : (วิ.) เช่นกับด้วยบุคคลผู้รักษา, ฯลฯ.
ลิกฺขน : นป. การเขียน, การจารึก, การสลัก
สมฺมกฺขน : นป. การลูบไล้