Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ขั้นสูงสุด, สูงสุด, ขั้น , then ขน, ขั้น, ขั้นสูงสุด, สูงสุด .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ขั้นสูงสุด, 215 found, display 1-50
  1. อริยปุคฺคล : (ปุ.) บุคคลผู้เจริญ, บุคคลผู้ประเสริฐ, พระอริยบุคคล, ทางพระพุทธศาสนาเรียกบุคคลที่ละกิเลสได้เด็ดขาด (สมุจเฉทป-หาน)ไม่กำเริบอีกเป็นขั้น ๆว่าพระอริย-บุคคล ๆ มี ๔ ชั้นตามที่ละกิเลสได้คือพระโสดาบันพระสกทาคามีพระอนาคามีและพระอรหันต์เป็นชั้นสูงสุดทางพระ-พุทธศาสนา ไม่มีพระอริยบุคคลชั่วขณะหรือชั่วคราวหรือพระอริยบุคคลแต่งตั้งหรือนิพพานชั่วขณะ.
  2. อสงฺเขยฺย : (นปุ.) อสงไชยชื่อมาตรานับขั้นสูงสุด. วิ.อสฺขฺยาตุอสกฺกุเณยฺยตายอสงฺเขยฺยํ(วัตถุอันบุคคลไม่พึงนับ นับไม่ได้).นสํปุพฺโพ, ขฺยาปกถเน, โณฺย.เอาอาเป็นเอ.อภิฯตั้งขาธาตุเณยฺยปัจ.ส.อสํขย.
  3. ครุ : (วิ.) ใหญ่, มาก, หนัก, สูง, สูงสุด, ให้ คร่ำคร่ายาก. ลง ก สกัด เป็น ครุก บ้าง.
  4. คามณิ, - ณี : ๑. ป. นายบ้าน, หัวหน้าบ้าน, ผู้ใหญ่บ้าน ๒. ค. หัวหน้า, ประเสริฐ, เลิศ, สูงสุด
  5. เชฏฺฐ : ๑. ป. ชื่อเดือนคือเดือนเจ็ดตกราวเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน; ๒. ค. พี่ใหญ่, ผู้เจริญที่สุด, สูงสุด
  6. เชฏฺฐ เชฏฺฐก : (วิ.) เจริญที่สุด, สูงสุด, เจริญ ยิ่ง, ประเสริฐยิ่ง. วุฑฺฒศัพท์อิฏฺฐ ปัจ แปลง วุฑฺฒ เป็น ช เอา อิ ที่ ปัจ. เป็น เอ รูปฯ ๓๗๕. ส. ชฺยษฺฐ.
  7. ปธาน : (วิ.) เลิศ, ใหญ่, เป็นใหญ่, เป็นประธาน, สูงสุด, อุดม.
  8. ปมุข : (วิ.) เลิศ, ประเสริฐ, สูงสุด, ก่อน, แรก, แรกเริ่ม, เริ่มแรก, ดั้งเดิม, เป็นที่พึ่ง, เป็นใหญ่, เป็นประธาน, เป็นหัวหน้า, โดย ความเป็นประธาน, เป็นหัวหน้า, เป็น ประธาน, เป็นประมุข. ปกฏฺฐปุพฺโพ, ปธานปุพฺโพ, วา, ปปุพฺโพ. วา, มุ พนฺธเน, โข.
  9. ปร : (วิ.) สูง, สูงสุด, ยิ่ง, เป็นใหญ่, เป็น ประธาน. วิ. ปกฏฺฐ ราตีติ ปรํ. ปกฏฺฐปุพฺ โพ, รา อาทาเน, โณ. โน้น, อื่น, นอก ออกไป, ต่อไป. ปรฺ คติยํ, อ.
  10. ปรม : (วิ.) ยอด, ยอดเยี่ยม, ยอดยิ่ง, อย่างยิ่ง, อย่างเยี่ยม, อย่างยอด, เป็นยอด, สูงสุด, ที่สุด, สนิท, เต็มเปี่ยม, อุดม, บรม. วิ. นตฺถิ อญฺญ ปรํ เอตสฺมาติ ปรมํ. ม ปัจ. แทน นตฺถิ. ปรํ ปจฺจนีกํ มาเรตีติ ปรมํ. ปกฏฺฐภาเว รมตีติ วา ปรมํ. อถวา, ปรติ อตฺตโน อุตฺตมภาวํ ปาเลติ ปูเรติ วาติ ปรมํ. ปรฺปาลเน, โม. ลง อ ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ แล้ว ลง ม ปัจ.
  11. ปวร : ค. ประเสริฐ, เลิศ, สูงสุด
  12. เสจน : (วิ.) เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, สูงสุด, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, ประเสริฐที่สุด. วิ. สพฺเพ อิเม ปสตฺถา, อยมิเมสํ วิเสเสน ปสตฺโถติ เสฏโฐ. ปสตฺถ+อิฎฺฐ ปัจ. แปลง ปสตฺถ เป็น ส รูปฯ. ๓๗๖ และอภิฯ.
  13. อกนิฏฺฐ : (วิ.) ไม่น้อย, สูงสุด, สูงที่สุด, ใหญ่ที่สุด.
  14. อนุตฺตริย : (วิ.) ดีเลิศ, ยิ่ง, อย่างยิ่ง, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, อนุตฺตร ศัพท์อิยปัจ.สกัด?
  15. อุกฺกฏฺฐ : (วิ.) ยิ่ง, ยิ่งยอด, สูงสุด, อุกกฤษฎ์. อุปุพฺโพ, กสฺ วิเลขนคมเนสุ, โต, ตสฺส ฏฺโฐ.  สฺโลโป. ส. อุตฺกฤษฺฏ. อุกฺกฏฺฐ
  16. อุกส อุกฺกส : (วิ.) ยิ่ง, ยิ่งยวด, ดียิ่ง, สูงสุด, อุกฤษฎ์, อุกกฤษฎ์. อุปุพฺโพ, กสฺ วิเลขนคมเนสุ, อ.
  17. อุตฺตม : (วิ.) ดีที่สุด, เด่นที่สุด, ยิ่ง, เยี่ยม, ยอดเยี่ยม, เลิศ, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด, มากมาย, บริบูรณ์, อุดม. วิ. อพฺภุโต อพฺภูโต วา อตฺยตฺถํ อุตฺตโม. อุคฺคตตมตฺตา วา อุตฺตโม. อุศัพท์ ตม ปัจ. ซ้อน ตฺ บางคัมภีร์เป็น อุพฺภโต อพฺยตฺถํ อุตฺตโม. อุพฺภโต อตฺยตฺโถ อุตฺตโม. มติ ผู้เขียน. ส อุตฺตม.
  18. อุสภ : (วิ.) องอาจ, เจริญ, ยิ่ง, เลิศ, ล้ำเลิศ, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด, ผู้ เป็นคำ วิเสสนะ บอกว่าเป็นเพศชาย ที่ใช้คู่กับคำ ว่า เมีย ซึ่งเป็นคำวิเสสนะ บอกว่าเป็นเพศ หญิง. ส. ฤสภ.
  19. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  20. กเลวร กเลวฬ กเลพร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ซากศพ, ซากผี, ขั้น วิ. กเล วรตีติ กเลวรํ. กลปุพฺโพ, วรฺ สํวรเณ, อ. ไม่ลบ วิภัตติ บทหน้า. ส. กลเวร.
  21. อุตฺตร : (วิ.) ยิ่ง, กว่า, ประเสริฐ, สูงสุด (อุตตโร อุตฺตมสทิโส), แข้น (พ้นจาก แห้งจวนแข็ง หรือหมายถึงแข็งก็ได้), กล้าแข็ง, กวน, คน (กวนของให้กระจาย หรือให้เข้ากัน), คม (ไม่ทื่อ), ต่อไป, ซ้าย, เหนือ, หลัง, บน, เบื้องบน, ข้างบน, พ้น, อื่น.
  22. คามณิ คามนิ : (วิ.) ประเสริฐ, สูงสุด.
  23. คุรุ : (วิ.) ใหญ่, หนัก, สูง, สูงสุด.
  24. ฏีกา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกำหนด, ฎีกา ชื่อ ของหนังสือที่อาจารย์แต่งแก้อรรถกถา บางทีแก้ทั้งบาลีด้วยจัดเป็นคัมภีร์ชั้นที่ สาม ชื่อของหนังสือที่เขียนนิมนต์พระสงฆ์ ชื่อของคำร้องทุกข์ที่ถวายพระเจ้า แผ่นดิน ชื่อของคำคัดค้านที่ยื่นต่อศาล สูงสุด ชื่อของศาลสำหรับตัดสินความชั้น สูงสุด. ฏิกฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  25. ตนฺต : (วิ.) สูงสุด (มุขฺย). ตนุ วิตฺถาเร, โต.
  26. มุขฺย : (วิ.) ประเสริฐ, สูงสุด. วิ. มุข มิวาติ มุโขฺย. อิวตฺเถ โย.
  27. โมกฺข : (วิ.) เป็นหัวหน้า, เป็นประธาน, ประเสริฐ, สูงสุด. วิ. หีนมชฺฌิมภาเวหิ มุจฺจตีติ โมกฺโข (พ้นจากภาวะเลวและภาวะปานกลาง). มุจฺ โมจเน, โต ตสฺส โข, จสฺส โก จ.
  28. สทฺทูล : ๑. ป. เสือเหลือง, เสือดาว; ๒. ค. สูงสุด
  29. อนุตฺตร : (วิ.) ผู้ประเสริฐกว่าหามิได้, ไม่มีผู้ประเสริฐกว่า, ไม่มีบุญเขตอื่นยิ่งกว่า, ไม่มีบุญเขตอื่นจะยิ่งกว่า, ดีเลิศ, ยิ่ง, อย่างยิ่ง, เยี่ยม, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด. วิ. นตฺถิอุตฺตโรยสฺมาโสอนุตฺต-โร.นตฺถิตสฺสอนุตฺตโรติวาอนุตฺตโรส.อนุตฺตร.
  30. อคฺค : (วิ.) มาก, ยอด, ยิ่ง, ดียิ่ง, เลิศ, ล้ำเลิศ, ประเสริฐ, วิเศษ, เป็นประธาน, ก่อน, แรก, หัวปี (ทีแรก เกิดก่อน), เอก, สูง, สูงสุด.วิ.อชติคจฺฉติเสฏฐภาวนฺติอคฺโค. อชฺ คมเน, อ, ชสฺส โค. คปจฺจโย วา. ส. อคฺร.
  31. อริย : (วิ.) เจริญ, ประเสริฐ, เลิศ, สูงสุด.ส.อารย.
  32. คฺคญฺญ : (วิ.) สูงสุด, ประเสริฐสุด.
  33. จตุปริวฏฏ : อ. โดยเวียนรอบสี่, (รู้เบญจขันธ์ตามความเป็นจริง) เป็นสี่ขั้น
  34. ติสรณ : (นปุ.)ที่พึ่งสาม,สรณะสาม,ไตรสรณะ. ไตรสรณะคือ พระพุทธ พระธรรม และ พระสงฆ์ เป็นสรณะที่พึ่งสูงสุดของพุทธ ศาสนิกชน ๆ จะนับถือสิ่งอื่นสูงกว่าหรือ เทียบเท่าพระรัตนตรัยไม่ได้ ถือว่าขาด จากพระรัตนตรัย. ส. ไตรสรณ.
  35. เตภูมิก : ค. อันมีภูมิสาม, อันเป็นไปในภูมิสาม, มีสามขั้น
  36. ถิรส : (วิ.) สูงสุด, สำคัญ, อุดม.
  37. เถรภูมิ : (อิต.) ชั้นแห่งพระเถระ, ขั้นแห่ง พระเถระ, ชั้นมั่น, ฐานะมั่น, เถรภูมิ ชื่อ ชั้นหรือฐานะของท่านผู้สอบความรู้ใน พระพุทธศาสนา ได้นักธรรมชั้นเอก หรือ หมายถึงพระผู้ใหญ่มีพรรษาครบ ๑๐ แล้ว.
  38. ทฺวิคุณ : (วิ.) มีขั้นสอง, มีสองชั้น, สองหน, สองเท่า.
  39. ธมฺมนุญฺญ : (ปุ.) ธรรมนูญ พระธรรมนูญ ชื่อว่ากฎหมายว่าด้วยระเบียบการ เช่นพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ชื่อกฎหมายสูงสุดของประเทศที่ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย. ธมฺม+มนุญฺญ ลบ อักษร ที่เสมอกันเสียตัวหนึ่ง.
  40. นรสภ : (วิ.) ผู้ประเสริฐ์กว่านระ, ผู้สูงสุดกว่า นระ, ผู้ประเสริฐ์ในนระ, ผู้สูงสุดในนระ, ผู้องอาจในนระ
  41. นรสีห : (ปุ.) นระผู้ประเสริฐกว่านระทั้งหลาย, นระผู้สูงสุดกว่านระท. วิ. นรานํ สีโห นรสีโห. นระผู้ประเสริฐ, นระผู้สูงสุด. วิ. นโร จ โส สีโห. ส. นรสึห, นรสิงห.
  42. นราสภ : (ปุ.) นระผู้ประเสริฐ์, นระผู้สูงสุด, วิ. นโร อาสโภ นราสโภ. นระเพียงดังโคผู้ วิ. นโร อาสโภ อิว นราสโภ.
  43. นรุตฺตม : ป. ผู้ประเสริฐ, ผู้สูงสุด, ผู้ประเสริฐในหมู่คน
  44. นรุตฺตม นโรตฺตม : (ปุ.) คนผู้สูงสุดกว่านระ, คนผู้สูงสุดในนระ, พระเจ้าแผ่นดิน.
  45. นโรตฺตม : (วิ.) ผู้สูงสุดกว่านระ, ผู้สูงสุดใน นระ.
  46. นาค : (วิ.) ผู้เลิศ, ผู้ประเสริฐ, ผู้สูงสุด. วิ. นตฺถิ อคฺโค ยสฺมา โส นาโค. ลบ ตฺถิ และ คฺ.
  47. นิรุตฺตร : ค. ซึ่งไม่มีผู้อันยิ่งกว่า, ผู้สูงสุด, ผู้ประเสริฐสุด, ซึ่งไม่น่าตอบ
  48. ปนฺนภูมิ : อิต. ระดับแห่งความเจริญของคนที่ถึงขั้นหมดความห่วงใย, เป็นปุริสภูมิที่ ๘ ในลัทธิมักขลิโคสาล
  49. ปรมตฺถคติ : อิต. คติอันสูงสุด, ทางไปแห่งชีวิตอันยอดเยี่ยม ได้แก่ ปนุปาทิเสสนิพพาน
  50. ปรมตฺถโต : อ. โดยปรมัตถ์, โดยความหมายอย่างสูงสุด, โดยความหมายที่จริงแท้
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-215

(0.0618 sec)