ขาต : (นปุ.) ตระพัง (แอ่ง บ่อ หนอง) ตะพัง หรือสระพัง หรือกระพัง ก็เรียก, บ่อ, บ่อน้ำ, หนอง, หนองน้ำ, สระ, บึง. ขณุ ขนุ วา อวทารเณ, โต. แปลงที่สุดธาตุ เป็น อา.
สฺวากฺขาต : (วิ.) (พระธรรม, พระธรรมวินัย) อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว. ศัพท์นี้ เคยใช้เป็น สฺวาขาต. บ้าง สฺวากฺขาต บ้าง ปัจจุบันนี้ยุติเป็น สฺวากฺขาต. สุ+อกฺขาต.
อขาต : (นปุ.) หนองที่ไม่ได้ขุด, เหมืองน้อย, วิ. น ขาตํ อขาตํ. นปุพฺโพ, ขณุ อวทารเณ, โต. ส. อขาต อาขาต.
ชิณฺณพฺยาธิมตสงฺขาต : (วิ.) อันบัณฑิตนับ พร้อมแล้วว่าชนผู้แก่แล้วและชนผู้เป็น พยาธิและชนผู้ตายแล้ว.
เตปิฏกพุทธวจนสงฺขาต : (วิ.) อันบัณฑิต นับพร้อมแล้วว่าพระดำรัสของพระพุทธเจ้า คือหมวดแห่งปีฏกสาม.
เตภูมิกวฏฺฏสขาต : (วิ.) อันบัณฑิตนับพร้อม แล้วว่า วัฏฏะอันเป็นไปในภูมิสาม.
เถยฺยสงฺขาต : อ. โดยอาการอันบัณฑิตกล่าวแล้วว่า การขโมย, โดยอาการขโมย
ธมฺมสขาต ธมฺมสงฺขาต : (วิ.) อัน...นับ พร้อมแล้วว่าธรรม, เป็นส่วนแห่งธรรม.
นิขาต : ค. ซึ่งขุด, ซึ่งฝัง
สงฺขาต : กิต. นับแล้ว, บอกแล้ว, เรียกแล้ว
สมฺมทกฺขาต : กิต. กล่าวดีแล้ว
อกฺขาต : (นปุ.) สภา. อาปุพฺโพ, ขา ปกาสเน, โต. รัสสะ อุปสรรค ซ้อน กฺ.
อติขาต : ค. ที่เขาขุดไว้
อนิขาต : ค. ไม่ขุด, ไม่ลึก
อสงฺขาต : ค. ไม่ได้พิจารณา, ไม่ได้ใคร่ครวญ
เทวขาตก : (นปุ.) เหมืองน้อย วิ. เทเวน ขาตํ เทวขาตกํ (เทวดาขุด เนรมิต). ก สดัด. ส. เทวขาต.
นิขาทน : (นปุ.) สว่าน, สิ่ว. นิปุพฺโพ, ขาตฺ ภกฺขเร, ยุ.
อปาน : (นปุ.) ลมหายใจเข้าวิ.อสฺสาสสํขาต-อานโตอปคตนฺติอปานํ.อปปุพฺโพ, อนฺปาณเน, อ.แปลว่าลมหายใจออกก็มี.