กรีส : (ปุ. นปุ.) อาหารเก่า, อุจจาระ, ขี้, กรีษ. วิ. กุจฺฉิตพฺพนฺติ กรีสํ. กุ กุจฺฉิเต, อิโส, กุสฺส กรตฺตํ, ทีโฆ. รูปฯ ๖๖๗. อภิฯ วิ. กรียตีติ กรีสํ. กิรฺ วิกิรเณ, อีโส, กรฺ กรเณ วา. ส. กรีษ.
คูถ : (ปุ. นปุ.) อุจจาระ, ขี้, คูถ.คุถฺ กรีสุสฺสคฺเค, อ. คุปฺ โคปเน, วา,โถ,ปฺโลโป. คุ กรีสุสฺสคฺ เค, โถ, ทีโฆ จ.ส.คูถ.
คูธ : (ปุ. นปุ.) อุจจาระ,ขี้,คูธ. คุปฺโคปเน,โธ,ปฺโล โป. คุ กรีสุสฺสคฺเค วา,โธ,ทีโฆ.
คูถก : นป. ขี้ (ตา, หู)
มิฬฺห มีฬฺห : (นปุ.) อุจจาระ, ขี้. มิหฺ เสจเน, โล. แปลง ล เป็น ฬ แล้วแปรไว้หน้า ห หรือตั้ง มีลฺ นิมีลเน, โห. อภิฯ.
อาจม : (ปุ. นปุ.?) สิ่งที่ควรล้าง, สิ่งที่ควรชำระ, ขี้.อาจมุ โธวเน, อ.ส.อาจม.
กฏุกญฺจุกตา : อิต. ความขี้เหนียว, ความตระหนี่, ความเข้มงวด
กฏุกภาว : ป. ความขี้เหนียว
กณฺณคูถ : นป., กณฺณคูถก ป. ขี้หู
กณฺณคูถ กณฺณคูถก : (ปุ.) ขี้หู. ส. กรฺณมูล.
กณฺณมล : นป. ขี้หู
กปฺปฏ : (ปุ.) ผ้าอันบัณฑิตเกลียด, ผ้าเปื้อน, ผ้าขี้ริ้ว. วิ. กุจฺฉิโต ปโฏ กปฺปโฏ. ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น กา รัสสะ ซ้อน ปฺ หรือ ตั้ง กปฺปฺ ธาติในความตรึก อฏปัจ.
กมฺโพชิ : ป., นป. ต้นขี้เหล็ก
กุกฺกุธ : (ปุ.) กระท่อมหมู. เพี้ยนเป็น กระทุ่ม หมู หรือ กระทุ่มขี้หมู บ้าง เป็นไม้ยืนต้น ขนาดกลาง, ไม้กุ่ม.
กุฏฐี : ป. คนเป็นโรคเรื้อน, คนขี้เรื้อน
โกธาภิภูต : (วิ.) ผู้ครอบงำแล้วซึ่งความโกรธ, ผู้อันความโกรธครอบงำแล้ว, ผู้ขี้โกรธ.
ขชฺชุ : (อิต.) กลาก, โรคกลาก, ขี้กลาก, หิด, โรคหิด, หืด?. ขชฺชฺ พฺยถเน, อุ.
โคมิฬฺห โคมีฬฺห : (ปุ.) มูลโค, ขี้โค. วิ. ควํ มิโฬฺห มีโฬฺห วา. โคมิโฬฺห โคมีโฬฺห วา.
โจลก, (โจฬก) : นป. ชิ้นผ้า, ท่อนผ้า, เศษผ้า, ผ้าขี้ริ้ว
ฉก : (นปุ.) ขี้, คูถ, สกฺ สตฺติยํ, อ, สสฺส, โฉ.
ฉกน : (นปุ.) ขี้ของสัตว์. ยุ ปัจ. เป็น ฉกณ บ้าง.
ฉาริกา : (อิต.) เถ้า, ขี้เถ้า, ถ่านเย็น. วิ. มลสฺส สรณํ กโรตีติ สาริกา, สา เอว ฉาริกา.
ฉินฺนิกา : อิต. ผู้หลอกลวง, ผู้ฉ้อฉล, คนขี้โกง
ฉุริกา : (อิต.) เถ้า, ขี้เถ้า, ถ่านเย็น. ฉาริกา เอว ฉุริกา.
ชชฺฌริ : (ปุ.?) ผักปลัง, ผักไห่ ชื่อผักชนิดหนึ่ง, มะรุม, ผักคราด, ขี้เหล็ก, ต้นเอื้อง.
ชฎุล : (ปุ.?) ขี้แมลงวัน ( จุดดำเล็กๆที่ขึ้นตาม ผิวหนัง ), ไฝ, กระ (จุดดำเล็กๆมีสีต่างๆ กัน ). ชฏฺ สงฺฆาเต, อุโล. ส. ชฏุล.
ชตุ : (นปุ.) ครั่ง ใช้เรียกทั้งตัวครั่งและขี้ครั่ง โดยมากหมายเอาขี้ครั่งที่ใช้เป็นชื่อตัวครั่ง น่าจะ เป็น ปุ., ยาง, ยางไม้. ชนฺ ชนเน, ตุ, นฺโลโป. ส. ชตุ.
ชตุมณิ : ป. ไฝ, ขี้แมลงวัน
ชลฺลิกา : อิต. หยาดเหงื่อ, ของสกปรก (ขี้ไคล); สะเก็ดไม้ผุ
ฌามก ฌาวุก : (ปุ.) ไม้ชาเกลือ? ไม้กรดมูก, ไม้ชิงชี่. ชิงขี้ ก็เรียก.
ฌาลุก : (ปุ.) ชิงชี่. ชิงขี้ ก็เรียก.
ตนฺทิ : อิต. ความหลับ, ความประมาท, ความเฉื่อยชา, ความเหนื่อยอ่อน, ความขี้เกียจ
ตนฺทิต : ค. เมื่อย, เฉื่อยชา, ขี้เกียจ
ติลกาฬก : (ปุ.) กระ, ไฝ ( เม็ดที่มีสีดำหรือ แดง ขึ้นอยู่ตามตัว), ขี้แมลงวัน ( จุดดำ เล็กๆขึ้นตามตัว). วิ. ติลานิ อิว กาฬโก ติลกาฬโก.
ทวกมฺยตา : อิต. ความเป็นผู้ใคร่ในการเล่น, ความอยาก, ความขี้เล่น, ความชอบตลก, ความชอบเล่นสนุก
นตฺตก : (นปุ.) ผ้าเปื้อน, ผ้าขี้ริ้ว. นตฺถิ+อนฺต ลบ ตฺถิ แปลง นฺ เป็น ตฺ ก สกัด ดู นนฺตกด้วย.
นนฺตก : นป. ชิ้นเล็กชิ้นน้อย, เศษ, ผ้าขี้ริ้ว, ผ้าเปื้อน
นมฺตก : (นปุ.) ผ้าเปื้อน. ผ้าขี้ริ้ว. นตฺถิ อนฺโตทสา ยสฺส ตํ นนฺตกํ. ก สกัด.
นรท : นป. โกศชฎามังสี, ยาขี้ผึ้ง
นาควีฏ : (ปุ.) คราด ชื่อเครื่องมือ ทำเป็นซี่ๆ มีด้ามสำหรับถือ สำหรับชักหรือลาก ขี้หญ้าหรือหยากเยื่อ คราดขนาดใหญ่ เทียมวัวหรือควาย ๑ คู่ สำหรับทำไร่ ทำนา.
นิพฺพิริย : ค. ซึ่งขาดวิริยะ, หมดความเพียร, ขี้เกียจ, เชื่องช้า, อ่อนแอ
ปกฺขนฺที : ป. ผู้แล่นไป, คนขี้คุย, คนคุยโต
ปตฺตวก : (ปุ.) ขี้เหล็ก, บอระเพ็ด.
ปิโลติกา : อิต. เศษผ้า, ผ้าขี้ริ้ว, ผ้าขาด, ผ้าเก่า
ปีฬิโกฬิกา : อิต. ขี้ตา, สิ่งปฏิกูลซึ่งไหลออกทางตาเป็นปกติ
ผคฺคว : (ปุ.) ขี้เหล็ก, บอระเพ็ด. วิ. ยํ วาตํ คณฺหาตีติ ผคฺคโว. ผปุพฺโพ, คหฺ คหเน, อ, หสสฺ โว.
ภินฺนปฏ : นป. ผ้าขี้ริ้ว, ผ้าขาด
ภิสีล : (วิ.) ขลาด, กลัว, ขี้ขลาด. วิ. ภี ภยํ สีโล ยสฺสโส ภิสีโล. เป็น ภีสีล โดยไม่รัสสะบ้าง.
ภีรุ ภีรุก : (วิ.) กลัว, ขลาด, ขี้ขลาด, สะดุ้งกลัว. วิ. ภายตีติ ภีรุ ภีรุโก วา. อถวา, ภายนสีโล ภีรุ ภีรุโก วา. ภี ภเย, รุ. ศัพท์หลัง ก สกัด หรือลง รุก ปัจ. หรือ ลง ณุก ปัจ. ลบ ณฺ แล้ว ลง รฺ อาคม.
มติวิปฺปหีน : ค. ขี้ขลาด, โง่