กุชฺฌติ : ก. โกรธ, ขุ่นเคือง, ขึ้งเคียด
ปฏิโรสติ, - เสติ : ก. โกรธตอบ, ขุ่นเคืองตอบ, เสียดสีตอบ
อโรสเนยฺย : ค. ผู้ไม่โกรธง่าย, ผู้ไม่ขุ่นเคือง
อากุล, อากุลก : ค. อากูล, เปรอะเปื้อน, ขุ่น, เกลื่อนกล่น, ยุ่ง
อาวิลติ : ก. หมุน, ปั่นป่วน, วุ่นวาย, ขุ่น
กุปฺปติ : ก. โกรธ, เคือง, หวั่นไหว, กำเริบ, สะเทือน
โทส : (วิ.) หมดความแช่มชื่น, ไม่แช่มชื่น, ไม่ชอบ, ไม่ชอบใจ, ไม่พอใจ, ชัง, โกรธ, โกรธขึ้ง, ขึ้งเคียด, เคือง, ฉุนเฉียว, ประทุษร้าย, เป็นเครื่องประทุษร้าย. ทุสฺ อปฺปีติโทสเนสุ, โณ.
ปกุปฺปติ : ก. เคือง
กลุส : (วิ.) ขุ่น, มัว. ก (น้ำ) ลุส (การคน). ส. กลุษ.
อาวิล : (วิ.) ขุ่น, มัว, เศร้าหมอง, แตก, ทำลาย. อาปุพฺโพ, พิลฺ เภทเน, อ. แปลง พ เป็น ว. อภิฯ ลง ณ ปัจ. ส. อาวิล.
กถญฺจิ : (อัพ. นิบาต) ยาก, ลำบาก, ฝืดเคือง, เสียใจ.
กนฺตาร : (วิ.) อัตคัด, ฝืดเคือง.
กสิร : (วิ.) ทุกข์, ลำบาก, คับแคบ, ฝืดเคือง, กระเสียร.
กิจฺฉ : (วิ.) ลำบาก, ฝืดเคือง, ทุกข์, ยาก, ทุกข์ยาก.
กุทฺธ : (ปุ.) ความโกรธ, ความเคือง. กุธฺ โกเป, โต.
กุปฺปน : นป. ความโกรธ, ความเคือง, ความกำเริบ, ความสะเทือน
โกธ : (ปุ.) ความกำเริบ, ความเคือง, ความโกรธ, ความโกรธขึ้ง, ความขึ้งเคียด, ความดุร้าย, ความโหดเหี้ยม, ความจำนงภัย. วิ. กุชฺฌนํ โกโธ. คนผู้โกรธ, คนโกรธ. กุชฺฌตีติ โกโธ. กุธฺ โกเป, โณ.
โกธปญฺญาณ : (วิ.) มีความโกรธปรากฏ, มีความแค้นเคือง, มีความมุทะลุ.
ทฺวีหิติก : ค. ซึ่งแสวงหามาได้โดยยาก, ซึ่งมีการเลี้ยงชีวิตอยู่ได้โดยฝืดเคือง
ทุสฺสติ : ก. ประทุษร้าย, ทำร้าย, ทำให้เสียหาย, โกรธเคือง
ทุสฺสน : นป., ทุสฺสนา อิต. การประทุษร้าย, การทำให้เสียหาย, การโกรธเคือง
ทุสฺสนีย : ค. ซึ่งเป็นที่ตั้งแห่งความขัดเคือง, ซึ่งน่าโกรธเคือง
ทุสฺสิตตฺต : นป. ความที่จิตถูกโทษประทุษร้าย, ความโกรธเคือง
ปโกป : ป. ความโกรธเคือง, ความเดือดพล่าน, ความยุ่งยาก
ปริกิลิฏฺฐ : กิต. เศร้าหมองแล้ว, ขุ่นมัวแล้ว, สกปรกแล้ว
ปริกิลิสฺสติ : ก. เศร้าหมอง, ขุ่นมัว, สกปรก
ปริโกปิต : กิต. โกรธแล้ว, กำเริบแล้ว, แค้นเคืองแล้ว
ปริโกเปติ : ก. โกรธ, กำเริบ, แค้นเคือง
มลิน, - นก, มลิมส : ค. เศร้าหมอง, ขุ่นมัว
มลิน มลีน : (วิ.) เก่า, ขุ่นมัว, มัวหมอง, หม่นหมอง, เศร้าหมอง, ไม่บริสุทธิ์, มีมลทิน. มลยุตฺตตาย มลิโน มลีโน วา. อัน ปัจ. ศัพท์หลังทีฆะ.
มลิมส มลีมส : (วิ.) เก่า, ขุ่นมัว, ฯลฯ. อีมส ปัจ. ศัพท์ต้นรัสสะ.
สงฺกุปิต : กิต.โกรธเคือง, กำเริบ
สมฺปโกป : (ปุ.) ความเคืองเสมอ, ความเคืองมาก, ความเดือดดาลมาก, ความโกรธมาก, สํ ป ปุพฺโพ, กุปฺ โกเป, โณ.
อกิจฺฉ : (วิ.) ง่าย, ไม่ลำบาก, ไม่ฝืดเคือง, สบาย, สุข. นปุพฺโพ, กิรฺ วิกฺขิปเน, โฉ. ลบ ร. ซ้อนจ. หรือ แปลง รฺ เป็น จฺ.
อนจฺฉ : (วิ.) ไม่ใส, ขุ่นมัว.วิ.นตฺถิอจฺฉภาโวอตฺราติอนจฺโฉ.
อนาวิล : (วิ.) ไม่กำเริบ, ไม่ขุ่นมัว, ผ่องใส.
อลูข : ค. ไม่หมองมัว, ไม่ขุ่น
อสุโรป : ป. ความไม่สุภาพ, ความกระด้าง, ความโกรธเคือง
อาพิล : ค. ขุ่นมัว, ข้น, ถูกรบกวน
อาลุลติ : ก. ฟุ้งซ่าน, ขุ่นมัว, หมองหม่น
อาลุลิก : (นปุ.) ความขุ่นมัว, กรรมอันขุ่นมัว. อาปุพฺโพ, ลุฬฺ มนฺถเน, อิ. แปลง ฬ เป็น ล ก สกัด.
อาลุฬติ : ก. เคลื่อนไหวไปมา, ขุ่นข้อง, วุ่นวาย
อาโลฬ : ป. ความขุ่นมัว, การระคน, การสับสน
อาโลเฬติ : ก. โลเล, วุ่นวาย, ยังให้ขุ่นมัว, ยังให้ยุ่งเหยิง
อาวิลตฺต : นป. ความรบกวน, ความปั่นป่วน, ความขุ่นมัว
อุปายาส : (ปุ.) ความคับแค้น, ความคับแค้น ใจ, ความเคือง. อุป อา ปุพฺโพ, ยา คติยํ, โส.
กูปขณ, - ขน : ป. คนขุดบ่อ, คนขุดหลุม
อิกฺขณ, - ขน : นป. การเห็น, การแลดู
ปณฺณ, - ณก : นป. ใบไม้, ใบไม้สำหรับเขียนหนังสือ, จดหมาย, หนังสือ, ขน, ปีก