อากุล, อากุลก : ค. อากูล, เปรอะเปื้อน, ขุ่น, เกลื่อนกล่น, ยุ่ง
อาวิลติ : ก. หมุน, ปั่นป่วน, วุ่นวาย, ขุ่น
กลุส : (วิ.) ขุ่น, มัว. ก (น้ำ) ลุส (การคน). ส. กลุษ.
อาวิล : (วิ.) ขุ่น, มัว, เศร้าหมอง, แตก, ทำลาย. อาปุพฺโพ, พิลฺ เภทเน, อ. แปลง พ เป็น ว. อภิฯ ลง ณ ปัจ. ส. อาวิล.
กุชฺฌติ : ก. โกรธ, ขุ่นเคือง, ขึ้งเคียด
ปฏิโรสติ, - เสติ : ก. โกรธตอบ, ขุ่นเคืองตอบ, เสียดสีตอบ
ปริกิลิฏฺฐ : กิต. เศร้าหมองแล้ว, ขุ่นมัวแล้ว, สกปรกแล้ว
ปริกิลิสฺสติ : ก. เศร้าหมอง, ขุ่นมัว, สกปรก
มลิน, - นก, มลิมส : ค. เศร้าหมอง, ขุ่นมัว
มลิน มลีน : (วิ.) เก่า, ขุ่นมัว, มัวหมอง, หม่นหมอง, เศร้าหมอง, ไม่บริสุทธิ์, มีมลทิน. มลยุตฺตตาย มลิโน มลีโน วา. อัน ปัจ. ศัพท์หลังทีฆะ.
มลิมส มลีมส : (วิ.) เก่า, ขุ่นมัว, ฯลฯ. อีมส ปัจ. ศัพท์ต้นรัสสะ.
อนจฺฉ : (วิ.) ไม่ใส, ขุ่นมัว.วิ.นตฺถิอจฺฉภาโวอตฺราติอนจฺโฉ.
อนาวิล : (วิ.) ไม่กำเริบ, ไม่ขุ่นมัว, ผ่องใส.
อโรสเนยฺย : ค. ผู้ไม่โกรธง่าย, ผู้ไม่ขุ่นเคือง
อลูข : ค. ไม่หมองมัว, ไม่ขุ่น
อาพิล : ค. ขุ่นมัว, ข้น, ถูกรบกวน
อาลุลติ : ก. ฟุ้งซ่าน, ขุ่นมัว, หมองหม่น
อาลุลิก : (นปุ.) ความขุ่นมัว, กรรมอันขุ่นมัว. อาปุพฺโพ, ลุฬฺ มนฺถเน, อิ. แปลง ฬ เป็น ล ก สกัด.
อาลุฬติ : ก. เคลื่อนไหวไปมา, ขุ่นข้อง, วุ่นวาย
อาโลฬ : ป. ความขุ่นมัว, การระคน, การสับสน
อาโลเฬติ : ก. โลเล, วุ่นวาย, ยังให้ขุ่นมัว, ยังให้ยุ่งเหยิง
อาวิลตฺต : นป. ความรบกวน, ความปั่นป่วน, ความขุ่นมัว
กูปขณ, - ขน : ป. คนขุดบ่อ, คนขุดหลุม
อิกฺขณ, - ขน : นป. การเห็น, การแลดู
ปณฺณ, - ณก : นป. ใบไม้, ใบไม้สำหรับเขียนหนังสือ, จดหมาย, หนังสือ, ขน, ปีก
อสุ : (ปุ. อิต.) สาย, ด้าย, ขน, ทาง, เส้น, แถว, ข้อ, ข้อเล็กน้อย, ปลายเส้นด้าย, รัศมี, แสง, แสงสว่าง.อมฺคมเน, อุ, สฺอาคโม. ลบ มฺ นิคคหิตอาคม หรือแปลงมฺ เป็น นิคคหิต.
อาขอาขนอาขาน : (ปุ.?)จอบ, เสียม. อาปุพฺ-โพ, ขณุขนุวาอวทารเณ, กวิ, อ, โณ.ส.อาขนอาขาน.
กงฺขน : นป. ความสงสัย,ความลังเลใจ
เตลมกฺขน : นป. การทาด้วยน้ำมัน, การไล้ด้วยน้ำมัน
นกฺขน : (ปุ.) การไป,การดำเนินไป,ความเป็นไป.นกฺขุคติยํ,อ.ความเกี่ยวเนื่อง,ความสัมพันธ์.นกฺขฺสมฺพนฺเธ,อ.
นิกฺขณติ, นิขนติ : ก. ขุด, ฝัง, ตั้งลง
ปริขนติ, (ปฬิขนติ) : ก. ขุด
ปริรกฺขน : นป. การรักษา
ภกฺขณ ภกฺขน : (วิ.) กิน, เคี้ยว, เคี้ยวกิน, กัดกิน, บริโภค.
ภกฺขน : นป. การกิน
ภิกฺขน : (นปุ.) อันขอ, การขอ. ภิกฺขฺ ยาจเน, ยุ.
มกฺขน : (นปุ.) การทา, การทำให้เปื้อน, ยุ ปัจ.
รกฺขณ รกฺขน : (นปุ.) การระวัง, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
รกฺขน : นป. การรักษา, การดูแล
รกฺขนสทิส : (วิ.) เช่นกับด้วยบุคคลผู้รักษา, ฯลฯ.
ลิกฺขน : นป. การเขียน, การจารึก, การสลัก
สมฺมกฺขน : นป. การลูบไล้
สิกฺขน : (นปุ.) การศึกษา, การเล่าเรียน, ยุ ปัจ.
สุกฺขน : นป. ความแห้ง
อชฺฌุเปกฺขน : นป. อชฺฌุเปกฺขนา อิต. อุเบกขา, ความวางเฉย, การเฝ้าดู
อนุรกฺขน : นป. การเก็บรักษา, การป้องกัน, การคุ้มครอง
อนุสิกฺขน : นป. การเอาอย่าง, การเจริญรอยตาม
อปลิขน, อปเลขน : นป. การขูดออก, การลบออก
อเปกฺขน : นป. อเปกฺขา, อิต. ความหวัง, ความปรารถนา, ความมุ่งหมาย