ปธสิต : กิต. (อันเขา) กำจัด, ทำลาย, ทำร้าย, ข่มขืน, กระทำชำเรา
ปธเสติ : ก. กำจัด, ทำลาย, ทำร้าย, จู่โจม, ปล้น, ข่มขืน, กระทำชำเรา
นิโยเชติ : ก. ประกอบ, กระทำ, รบเร้า, ส่งเสริม
อาจรติ : ก. ประพฤติ, ปฏิบัติ, กระทำ
อายุต : ค. ประกอบ, กระทำ, ผูก, ยึด, ติด; ชนะ
อายูหติ : ก. พยายาม, เพียร, สั่งสม, พอกพูน, ประกอบ, กระทำ
กตูปการ : ๑. ป. อุปการะที่ทำแก่คนอื่น;
๒. ค. ผู้มีอุปการะอันกระทำแล้ว
กถกร : ค. อันกระทำอย่างไร
กมฺมิก,กมฺมี : ป. ผู้กระทำ, ผู้ดูแล; การกระทำ
กาตพฺพ : ๑. นป. ธุระ, หน้าที่, งานที่ควรทำ;
๒. ค. สิ่งที่ควรกระทำ
กาตเว : อ. เพื่อกระทำ
กายจลนสีสุกฺขิปนภมุกวิการาทิ : (วิ.) มีอัน ไหวแห่งกายและอันยกขึ้นซึ่งศรีษะและอัน กระทำต่างแห่งคิ้ว (การยักคิ้ว) เป็นต้น, มีอันกระดิกซึ่งกาย และอันสั่นซึ่งศรีษะ และอันยักซึ่งคิ้วเป็นต้น. เป็น ฉ. ตุล. มี ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ อ. ทวัน. เป็นท้อง.
กุพฺพติ : ก. กระทำ, ทำ
กุลาลภณฺฑ : (นปุ.) ของใช้อันบุคคลถือเอาซึ่ง ดินกระทำ, ของใช้สำเร็จด้วยดิน, ของใช้ ที่ทำด้วยดิน.
กุลาลภาชน : (นปุ.) ภาชนะอันบุคคลถือเอาซึ่ง ดินกระทำ ฯลฯ
ขลภณฺฑกาล : (ปุ.) กาลเป็นที่ทำซึ่งลอมในลาน, กาลเป็นที่กระทำซึ่งข้าวเป็นต้นให้เป็นลอม ในลาน. ลอม คือ การตะล่อมของให้สูง ขึ้นเป็นจอม.
คณฺฑมฺพ : ป. ต้นคัณฑามพพฤกษ์, ต้นมะม่วงชนิดหนึ่งเป็นที่ซึ่งพระโคตมพุทธเจ้าได้ทรงกระทำยมกปาฏิหาริย์
จกฺขุกรณ, - กรณี : ค. ซึ่งกระทำปัญญาจักษุ, ผู้ทำให้เกิดปัญญาจักษุ, ผู้ทำให้เกิดความเห็นชัดด้วยใจ
จิตฺติกโรติ, - ตีกโรติ : ก. กระทำความยำเกรง, เคารพยกย่อง, บูชา
จีวรการสมย : ป. สมัยเป็นที่กระทำซึ่งจีวร, ระยะกาล (ที่ทรงอนุญาตไว้) เพื่อการทำจีวร, คราวที่พระทำจีวร
ติตฺถกร : ป. ผู้ตั้งลัทธิ, เจ้าลัทธิ, ผู้กระทำซึ่งฝั่ง
นลมย : ค. ซึ่งกระทำด้วยไม้อ้อ, สำเร็จด้วยไม้อ้อ
นานากรณ : (นปุ.) เหตุเป็นเครื่องกระทำ ต่างๆกัน.
นิสมฺมการี : ค. ผู้ใคร่ครวญกระทำ, ผู้ทำอย่างใคร่ครวญ
ปฏิเสนิกตฺตุ : ป. ผู้กระทำความเป็นข้าศึก, ผู้ตั้งต้นเป็นศัตรู, ผู้สร้างศัตรู
ปฏิเสนิกโรติ : ก. กระทำความเป็นข้าศึก, ตั้งต้นเป็นศัตรู, แก้แค้น
ปธสิย : ค. ซึ่งอาจถูกจำกัด, ซึ่งทำลาย, ซึ่งปล้น, ซึ่งข่มขืนได้
ปธานฆร : นป. เรือนเป็นที่กระทำความเพียร
ปพฺพาชนิยกมฺม : นป. ปัพพาชนียกรรม, กรรมที่สงฆ์กระทำแก่ภิกษุผู้ควรถูกขับไล่, การลงโทษด้วยการขับไล่จากอาวาส
ปรกต : ค. ที่ผู้อื่นกระทำไว้, ผู้อื่นหรือสิ่งอื่นสร้างขึ้น
ปริกนฺต : ๑. กิต. (อันเขา) เฉือนแล้ว, ผ่าออกแล้ว;
๒. นป. กรรมที่กระทำด้วยกาย; การกระเสือกกระสนด้วยกาย
ปสุต : ค. ขวนขวายแล้ว, ประกอบแล้ว, กระทำแล้ว
ปุญฺญกต : ค. ผู้มีบุญอันกระทำแล้ว
ปุพฺพเปตพลิ : (ปุ.) การบูชาแก่ญาติผู้ละไปแล้วก่อน, การบูชาแก่ญาติผู้ตายไปก่อน, เครื่องบูชาอันบุคคลทำให้ แก่ผู้ละโลกไปแล้วก่อน, เครื่องเซ่นสรวงที่กระทำให้แก่ผู้ตายไปก่อน, บุญกุศลที่อุทิศให้แก่ญาติผู้ตายไปก่อน.
ปุพฺเพกตปุญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีบุญอันตนกระทำแล้วในกาลก่อน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีบุญอันได้กระทำไว้แล้วในกาลก่อน,ความเป็นผู้มีบุญอันทำแล้วในกาลก่อน, ความเป็นผู้มีบุญอันทำแล้วในชาติก่อน.
ปุรกฺข : (วิ.) กระทำในเบื้องหน้า, ห้อมล้อม, ผู้อภิเษกแล้ว (พระราชา...). ปุรปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ. แปลง กรฺ เป็น ข ซ้อน กฺ.
ปุริสการ : (ปุ.) ความเพียรอันบุคคลพึงกระทำเป็นของแห่งบุรุษ, ความเพียรเครื่องกระทำของบุรษ.
ปุเรกฺขาร : (ปุ.) อันกระทำในเบื้องหน้า, การกระทำในเบื้องหน้า, การห้อมล้อม, ความนับถือ. ปุร+กรฺ+ณ ปัจฺ แปลง กรฺ เป็น ขรฺ ทีฆะ ลบ ณฺ คงวิภัติของบทหน้าไว้ ซ้อน กฺ รูปฯ ๕๖๖. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๑๒๔ ตั้ง ปุรา+กรฺ+ร ปัจจฺ เอา อา แห่ง ปุรา เป็น เอ.
เปตพลิ : (ปุ.) เครื่องบูชาอันบุคคลทำให้แก่บุคคลผู้ละโลกไปแล้ว, เครื่องเซ่นสรวงที่กระทำให้แก่ผู้ตายไปแล้ว.
เปสการ : (ปุ.) บุคคลผู้กระทำซึ่งกรรม คือ อันส่งไป, บุคคลผู้ทำซึ่งการพุ่ง, ช่างทอ, ช่างหูก, ช่างทอหูก.
ผลมย : ค. ซึ่งกระทำด้วยไม้กระดาน, ซึ่งสำเร็จด้วยแผ่นกระดาน
พลิการก : ค. ผู้กระทำพลีกรรม, ผู้ถวายเครื่องสังเวย
พหุกต : (วิ.) กระทำให้มากแล้ว.
พหุลีกต : (วิ.) อัน...กระทำแล้วให้เป็นไปมาก, กระทำให้มากแล้ว, กระทำแล้วๆ เล่าๆ, กระทำเนืองๆ, กระทำให้มาก. วิ. พหุลํ กตนฺติ พหุลีกตํ. พหุล+กต อี อาคม รูปฯ ๓๒๘. คำอธิบายความหมาย พหุลีกต ดู ไตรฯ๓๑ ข้อ ๕๓๖.
พหุลีกโรติ : ก. กระทำมาก, กระทำไปติดต่อ, กระทำบ่อยๆ
ภยงฺกร : (วิ.) ทำซึ่งภัย, กระทำซึ่งภัย, น่ากลัว, น่าสพึงกลัว. ทุ. ตัป. อลุตตสมาส.
ภวปารคู : (วิ.) ผู้มีปกติถึงซึ่งฝั่งแห่งภพ วิ. ภวปารํ คมนสีโลติ ภวปารคู. ผู้มีปกติกระทำดีในการถึงซึ่งฝั่งแห่งภพ วิ. ภวปารํ คมเน สาธุการีติ ภวปารคู. รู ปัจ. รูปฯ ๕๗๖.
มนการ มนกฺการ : (ปุ.) อันกระทำไว้ในใจ, การกระ ทำไว้ในใจ, การตั้งใจ, ความตั้งใจ. วิ. ภวงฺคมนโต วิสทิสํ มนํ กโรตีติ มนการโร. มนสฺมึ วา กาโร มนกาโร ศัพท์หลังซ้อน กฺ.
มนสิการ : (ปุ.) อันกระทำไว้ในใจ, ฯลฯ, การกำหนดในใจ, การใส่ใจ, การพิจารณา, ความกระทำไว้ในใจ, ฯลฯ.
มมงฺการ : (ปุ.) อภิมนะเป็นที่กระทำว่าของเรา, อภิมานะเป็นที่กระทำว่าของของเรา, ความถือตัวว่าเป็นของเรา, ความถือว่าของเรา, มมังการ เป็นกิเลสชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นแล้วทำให้ถือก๊กถือพวก เป็นเหตุให้แตกสามัคคี เกิดความแตกร้าวในหมู่คณะ เป็นกิเลสคู่กับอหังการ คือถือตัวหยิ่ง ยโส.