Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ข้องเกี่ยว, เกี่ยว, ข้อง , then กยว, เกี่ยว, ของ, ข้อง, ของกยว, ข้องเกี่ยว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ข้องเกี่ยว, 1637 found, display 1-50
  1. อนฺวาสตฺต : กิต. ยึด, ติด, ข้องเกี่ยว
  2. ทิฏฺฐิวิสโยค : ป. ความพรากจากทิฐิ, ความไม่ข้องเกี่ยวกับความเห็นผิด
  3. สงฺค : ป. ความข้อง, ความติดแน่น, ความเกี่ยวเกาะ
  4. กุฏ กุฏก : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อ. ตัด, เกี่ยว, พัน, แบ่ง. กุฏฺ เฉทเน, อ.
  5. ทายติ : ก. ตัด, เกี่ยว
  6. อวขณฺฑติ : ก. ตัด, เกี่ยว
  7. ปริสฺสชติ : ก. กอด, ข้อง, เกี่ยวข้อง
  8. อาสชฺชติ : ก. กระทบ, ติด, ข้อง
  9. กามโกฏฐาส : ป. ส่วนประกอบของกาม, หมวดธรรมที่เกี่ยวกับเรื่องกาม
  10. กุฏิ กุฏิล : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อิ, อิโล. เกี่ยว, ตัด, แบ่ง, ปัน, กุฏฺ เฉทเน, อิ, อิโล. กุฏิล นั้นรูปฯ ๖๕๕ ลง อิร ปัจ. แปลง ร เป็น ล. ส. กุฏิล.
  11. ปรายตฺต : ค. ซึ่งเนื่องด้วยผู้อื่น, เกี่ยวกับคนอื่น, ซึ่งอาศัยผู้อื่น, ซึ่งเป็นของคนอื่น
  12. มูลปริยาย : (ปุ.) การเล่าเรื่องเดิม, การเล่าเรื่องเกี่ยวกับมูลเหตุของธรรมทั้งหลาย.
  13. สนฺธาน : (นปุ.) การต่อ, การเชื่อม, การเกี่ยวข้อง, การพัวพัน, การสืบต่อ, ที่ต่อ, สันธาน ชื่อของคำที่เชื่อมประโยคให้เกี่ยวเนื่องกัน. ยุ ปัจ.
  14. หตฺถปาส : (ปุ.) บ่วงแห่งมือ, บ่วงมือ, หัตถบาส ชื่อของระเบียบปฏิบัติสำหรับภิกษุสงฆ์ผู้เข้าร่วมประชุมทำสังฆกรรม จะต้องอยู่ในหัตถบาสของกันและกัน คืออยู่ในระหว่าง ๒ ศอก-คืบ ถ้ายืนก็ห่างกันประมาณ ๑ ศอก ถึง ๑ ศอกคืบ ถ้านั่งก็ห่างกัน ๑ คืบ ต่อ ๆ กันไป และยังใช้เกี่ยวกับคฤหัสถ์ผู้ประเคน (ถวาย) ของแด่ภิกษุสงฆ์ด้วย จะต้องเข้ามาในหัตถบาส คือห่างจากภิกษุผู้รับ ๑ ศอก สำหรับสุภาพสตรีเข้าไปประเคน (ถวาย) อยู่ในระยะ ๑ ศอกนี้ ดูไม่งาน เช่นบางกรณีคือ ถวายของในพิธีมงคลสมรส.
  15. เหรญฺญก : (ปุ.) บุคคลผู้เกี่ยวกับเงิน, พนักงานคลังเงินทอง, เหรัญญิก ชื่อคนผู้ดำรงตำแหน่งกรรมการของสมาคมหรือหน่วยงาน มีหน้าที่รับเก็บและจ่ายเงิน.
  16. อกาลิก : (วิ.) ประกอบด้วยกาลหามิได้, ไม่ประกอบด้วยกาล, ให้ผลมิได้เลือกซึ่งกาล, ให้ผลไม่เลือกเวลา, ให้ผลตลอดเวลา, ให้ผลทุกเวลา. เป็นคุณบทของพระธรรมบทที่ ๓ ใน ๖ บทพระพุทธศาสนาสอนว่าการทำความดีหรือความชั่วไม่เกี่ยวกับฤกษ์ยามทำเวลาไหนได้ผลทั้งสิ้น จะเป็นผลดีหรือชั่วแล้วแต่การทำ
  17. อนาณตฺติก : (วิ.) ไม่ต้องเพราะสั่ง, ไม่ต้องเพราะบังคับ.สิกขาบทใดของบรรพชิตหรือของผู้ครองเรือนใช้ให้ผู้อื่นทำไม่ต้องอาบัติ หรือศีลไม่ขาด, ทำเองจึงต้องอาบัติหรือศีลจึงขาด สิกขาบทนั้นเป็นอณาถณัต-ติกะ.เช่นสิกขาบทเกี่ยวกับการประพฤติผิดในกาม.
  18. อมนุสฺสิก : ค. เกี่ยวกับอมนุษย์, เป็นของอมนุษย์
  19. อุทกสตฺถ : (นปุ.) อุทกศาสตร์ วิชาที่กล่าวถึง น้ำ การแปรปรวนของน้ำ เกี่ยวกับการวัด หรือการสำรวจแผนที่ทะเล.
  20. กมฺมนิพนฺธน : ค. อันเกี่ยวเนื่องด้วยกรรม
  21. กรุณาฌาน : นป. การเพ่งอันเกี่ยวกับความกรุณา
  22. กามเคธ : ป. ความยินดีในกาม, ความข้องหรือติดอยู่ในกาม
  23. กามสงฺค : ป. ความข้องอยู่ในกาม
  24. กายพทฺธ : ค. อันผูกพันทางกาย, ซึ่งเกี่ยวเนื่องด้วยกาย
  25. กาลิก : (วิ.) ประกอบด้วยเวลา, ประกอบใน เวลา, เกี่ยวกับเวลา, ติดกับเวลา.
  26. โกล : (วิ.) เกิดในสกุล, เชื้อสายในสกุล, เกี่ยวใน สกุล. วิ. กุเล ชาโต โกลํ. กุเล นิยุตโต โกลํ, ณ ปัจ.
  27. คาเมยฺย : ค. ซึ่งอยู่ในบ้าน, เกี่ยวกับบ้าน
  28. เคหนิสฺสิต : ค. ผู้อาศัยอยู่ในเรือน, เกี่ยวข้องอยู่ในบ้าน, อันเกี่ยวกับชีวิตในครอบครัว
  29. จาตุทฺทสิก : ค. ซึ่งเป็นไปในวันจาตุททสี, เกี่ยวกับวันจาตุททสี
  30. ฉวฑาหก ฉวฬาหก : (ปุ.) สัปเหร่อ (คนผู้ทำ หน้าที่เกี่ยวกับศพ คนผู้ทำหน้าที่เผาศพ) ฉวปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ณฺวุ, ทสฺส โฑ. ศัพท์หลัง แปลง ท เป็น ฬ.
  31. ญาติสาโลหิต : (ปุ.) พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วย เลือด, พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วยสายเลือด, พี่น้องผู้ร่วมสายเลือด, ญาติสาโลหิต, ญาติสายโลหิต ( ญาติที่ลืมสกุลมาโดยตรง ญาติสายโลหิตเดียวกัน ). คำ ญาติ ทาง ศาสนาหมายถึงคนที่ไม่ใช่สายเลือดเดียว กัน ก็ได้ ดังบาลีว่า วิสฺสาสาปรมา ญาติ ความคุ้นเคยชื่อว่าเป็นญาติอย่างยิ่ง. (ญาติ สนิท).
  32. ทาตฺต : (นปุ.) เคียว ชื่อเครื่องมือสำหรับเกี่ยว ข้าวหรือหญ้า วิ. ทนติ อเนนาติ ทาตฺตํ ทา ลเวนา, โต, ทฺวิตฺตํ. ทาติ วีหโย ฉินฺทติ อเนนาติ วา ทาตฺตํ. ทา อวขณฺฑเน. เป็นทาตฺร โดยลง ตฺรณฺ ปัจ. บ้าง. ส. ทาตฺร.
  33. ทายน : (นปุ.) การตัด, การเกี่ยว, การเกี่ยว ข้าว. ทา ขณฺฑเน, ยุ. แปลง อา เป็น อาย.
  34. ทิฏฺฐิสโยชน : นป. ทิฎฐิสังโยชน์, กิเลสเครื่องผูกสัตว์ในภพ คือทิฐิ, ความเห็นผิดซึ่งทำให้สัตว์ติดข้องอยู่ในภพ
  35. โทณมาปาก : ค. (มหาอำมาตย์) ผู้ตวงด้วยโทณะ = มีหน้าที่เกี่ยวกับการตวงข้าวค่านา
  36. ธนาตฺติ : (อิต.) การบังคับในเพราะเงิน, การบังคับเกี่ยวกับเงิน, ธนาณัติ คือการส่งเงินทางไปรษณีย์ตราสารซึ่งไปรษณีย์แห่งหนึ่งส่งไปให้ไปรษณีย์อีกแห่งหนึ่งตามที่ผู้ส่งเงินต้องการให้ส่ง.
  37. ธาตุกถา : อิต. ธาตุกถา, อธิบายเกี่ยวกับเรื่องธาตุ, ชื่อคัมภีร์อภิธรรมเล่มที่สาม
  38. ธุรกิจฺจ : (นปุ.) กิจคือการงาน, กิจการงาน, ธุรกิจ คืองานประจำที่เกี่ยวกับการค้าขาย หรือกิจการอื่นที่สำคัญ ซึ่งมิใช่ราชการ.
  39. นกฺข : (นปุ.) การไป,การดำเนินไป,ความเป็นไป.นกฺขุคติยํ,อ.ความเกี่ยวเนื่อง,ความสัมพันธ์.นกฺขฺสมฺพนฺเธ,อ.
  40. นกฺขน : (ปุ.) การไป,การดำเนินไป,ความเป็นไป.นกฺขุคติยํ,อ.ความเกี่ยวเนื่อง,ความสัมพันธ์.นกฺขฺสมฺพนฺเธ,อ.
  41. นาวิกสาสน : (นปุ.) ข้อบังคับเกี่ยวกับการเดินเรือ, กฎหมายเกี่ยวกับการเดินเรือ ในน่านน้ำทั่วไป, นาวิกศาสน์. ส. นาวิกศาสน.
  42. นิติกร : (ปุ.) คนผู้ทำหน้าที่เกี่ยวกฎหมาย, คนผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการใช้วิชา กฎหมาย.
  43. นิพฺพานปฏิสญฺญุต : ค. อันปฏิสังยุตด้วยนิพพาน, ซึ่งพาดพิงถึงนิพพาน, ซึ่งเกี่ยวเนื่องด้วยนิพพาน
  44. นิราสตฺตี : ค. ผู้หมดความข้อง, ผู้ไม่ติด, ผู้ไม่ข้อง
  45. นิรุตฺติสภา : (อิต.) สภาแห่งบัณฑิตผู้แตกฉาน ในภาษา, สภาแห่งบัณฑิตผู้มีหน้าที่ เกี่ยวกับภาษา.
  46. นิสฺสงฺค : ค. ซึ่งไม่ข้อง, ซึ่งไม่เห็นแก่ตัว
  47. ปฏิจฺจ : อ., กิต. อาศัย, อิง, เนื่อง, เกี่ยวกับ
  48. ปฏิพทฺธ : ค. ซึ่งเกี่ยวเนื่อง, ซึ่งเนื่องอยู่, ซึ่งอาศัย, อันติดอยู่, อันผูกพัน
  49. ปฏิวิเสส : ป. อาการอันพิเศษยิ่งขึ้น, อาการที่แยกแยะให้เห็นเฉพาะแต่ละอย่างๆ (เกี่ยวกับการวินิจฉัยปัญหา)
  50. ปฏิเวลฺลติ : ก. ผูกมัด, รัดรึง, ตรึงติด, เกี่ยวพัน, หุ้มห่อ
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1637

(0.1304 sec)