ปริสฺสชติ : ก. กอด, ข้อง, เกี่ยวข้อง
อาสชฺชติ : ก. กระทบ, ติด, ข้อง
กามเคธ : ป. ความยินดีในกาม, ความข้องหรือติดอยู่ในกาม
กามสงฺค : ป. ความข้องอยู่ในกาม
ทิฏฺฐิวิสโยค : ป. ความพรากจากทิฐิ, ความไม่ข้องเกี่ยวกับความเห็นผิด
ทิฏฺฐิสโยชน : นป. ทิฎฐิสังโยชน์, กิเลสเครื่องผูกสัตว์ในภพ คือทิฐิ, ความเห็นผิดซึ่งทำให้สัตว์ติดข้องอยู่ในภพ
นิราสตฺตี : ค. ผู้หมดความข้อง, ผู้ไม่ติด, ผู้ไม่ข้อง
นิสฺสงฺค : ค. ซึ่งไม่ข้อง, ซึ่งไม่เห็นแก่ตัว
พฺยาสตฺต : (วิ.) ผู้ข้องแล้วในอารมณ์ต่างๆ. วิวิธ+อาสตฺต. ลบ วิธ เหลือ วิ แปลง อิ เป็น ย.
พฺยาสตฺตมนส : (วิ.) ผู้มีฉันทะมีในใจมาข้องอยู่ต่าง, ผู้มีใจข้องแล้วในอารมณ์ต่างๆ, ผู้มีใจข้องอยู่แล้วในอารมณ์ต่างๆ.
โพธิสตฺต : (ปุ.) สัตว์ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้, มนุษย์ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้, บุคคลผู้ข้องอยู่ในพระโพธิญาณ, พระโพธิสัตว์ คือ สัตว์ผู้ข้องอยู่ในพระโพธิญาณ ได้แก่ ท่านผู้จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า.
ลคฺค : ค. ซึ่งข้อง, ยึด, เกาะ
ลคฺคติ : ก. ข้อง, ยึด, เกาะ
ลคฺคน : นป. การข้อง, การยึด, การเกาะ
วฺยาสตฺต : ค. ข้องอยู่, ติดอยู่, ฟุ้งซ่าน
วิลคฺค : ๑. ป. กลางตัว, เอว;
๒. กิต. ข้องแล้ว
สงฺค : ป. ความข้อง, ความติดแน่น, ความเกี่ยวเกาะ
สิเลส : (ปุ.) การกอด, การกอดรัด, การสวมกอด, การรวมกัน, การร่วมสมพาส (ร่วมประเวณี), การติดต่อ, การติดต่อกัน, การข้อง, การข้องอยู่, การเกี่ยวข้อง, ยาง, ยางไม้, ยางเหนียว, ตัง (ยางไม้ที่ผสมกับสิ่งอื่นแล้วทำให้เหนียว สำหรับดักนกเป็นต้น). สิลิสฺ อาลิงฺคเน, อ, ยุ.
สิเลสน : (นปุ.) การกอด, การกอดรัด, การสวมกอด, การรวมกัน, การร่วมสมพาส (ร่วมประเวณี), การติดต่อ, การติดต่อกัน, การข้อง, การข้องอยู่, การเกี่ยวข้อง, ยาง, ยางไม้, ยางเหนียว, ตัง (ยางไม้ที่ผสมกับสิ่งอื่นแล้วทำให้เหนียว สำหรับดักนกเป็นต้น). สิลิสฺ อาลิงฺคเน, อ, ยุ.
อนฺวาสตฺต : กิต. ยึด, ติด, ข้องเกี่ยว
อภิสงฺค : ป. ๑. การติดข้อง, การข้อง ;
๒. การแช่ง, การด่า
อภิสงฺคี : ค. ๑. ผู้ติดข้อง ;
๒. ผู้แช่ง, ผู้ด่า
อภิสชฺชติ : ก. ข้อง, กระทบกระทั่ง
อภิสชฺชน : (วิ.) อันยัง....ให้ข้องอยู่, อันยัง....ให้ติดอยู่.อภิปุพฺโพ, สชฺ สงฺเค, ยุ. ลง ย ปัจ.ประจำธาตุแปลงชฺยเป็นชฺช ยุเป็น อน.
อลคฺค : (วิ.) ไม่ข้องอยู่แล้ว, ไม่ข้องแล้ว.
อลคฺคน : นป. ความไม่ติดข้อง
อสงฺค : ๑. ป. การไม่ติด, การไม่ข้อง ;
๒. ค. ไม่ติด, ไม่ข้อง
อสชฺชมาน : ค. ไม่ข้องอยู่, ไม่ติดอยู่
อสชฺชิตฺถ : ก. (ท่าน) ข้องแล้ว, ติดแล้ว
อสตฺต : ค. ไม่ข้อง, ไม่ยึด, ไม่พัวพัน
อาลุฬติ : ก. เคลื่อนไหวไปมา, ขุ่นข้อง, วุ่นวาย
อาสงฺค : ๑. ป. ความข้อง, ความคิด; เสื้อผ้า;
๒. ค. ซึ่งประดับตกแต่ง
อาสชฺชน : นป. การกระทบ, การติด, การข้อง
อุปสคฺค : (ปุ.) อันตรายเครื่องเข้าไปข้องอยู่, อันตรายเข้าไปขัดข้องอยู่, อันตรายเข้าไป ขัดข้อง, อันตรายเครื่องขัดข้อง, อันตราย เครื่องขัดขวาง, สิ่งที่เข้าไปขัดข้อง, สิ่งที่ เข้าไปขัดขวาง, สิ่งที่กีดขวาง, อันตราย, จัญไร (ความเป็นเสนียด). วิ. อุปคนฺตวา สชติ ปกาเสตีติ อุปสคฺโค. อุปปุพฺ โพ, สชฺ วิสชฺชนาทีสุ, โณ. ไวยากรณ์เรียกคำ ชนิดหนึ่งสำหรับ นำหน้านามและกิริยาให้วิเศษขึ้น มี อติ เป็นต้น ว่า อุปสรรค. ส. อุปสรฺค.
อุปสเสว : (ปุ.) การเข้าไปคบ, การเข้าไปคบ หา, การเข้าไปเกียวข้อง. อุป สํ ปุพฺโพ, เสวฺ เสวเน, อ.
สมฺภาร : (ปุ.) การรวบรวม, การสะสม, การอุดหนุน, การเกื้อกูล, การเลี้ยงดู, ความรวบรวม, ฯลฯ, ความพร้อมมูล, ความมากหลาย, องค์เครื่องเต็มพร้อม, องค์, อุปกรณ์, เครื่องอุปกรณ์, เครื่องปรุง, วัตถุ, ของ, ข้าวของ, สิ่งของ, สิ่งของต่างๆ, เครื่องใช้, ของใช้, ทรัพย์, สมบัติ, ฝูง, ฯลฯ, ชุมนุม, ความดีอันสะสมไว้, บุญที่สะสมไว้, สมภาร. สํปุพฺโพ, ภรฺ ธารณโปสเนสุ. โณ. ส. สมฺภาร.
ขาทนีย : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลพึงกัดกิน, ของ เคี้ยว, ของเคี้ยวกิน, ของควรเคี้ยวกิน, ของ กิน (ยกเว้นโภชนะ ๕), ขาทนียะ ได้แก่ ยาคู ยามกาลิก สัตตาหกาลิก และ ยาวชีวิก ไตร. ๓/๒๑๖. ขาทนียะบางอย่างก็ ไม่ต้องเคี้ยวเช่นน้ำอัฏฐปานะ ดูโภชนียด้วย.
ทกฺขิณา : (อิต.) ทักขิณา ทักษิณา ชื่อทาน อันบุคคลเชื่อกรรมและผลของกรรมแล้ว จึงให้ กมฺมผลํ สทฺทหิตฺวา ทาตพฺพทานํ ทกฺขิณา ชื่อทานเพื่อผลอันเลิศ ชื่อทาน สมบัติอันเจริญ ชื่อทานอันทายกทายิกา บำเพ็ญอุทิศผลให้ผู้ล่วงลับไปแล้ว, ของ ทำบุญ, ใต้, ทิศใต้, เบื้องขวา, ทางขวา, ข้างขวา, ด้านขวา, ด้านใต้. วิ. ทกฺขนฺติ โภคสมฺปทาทีหิ ยาย สา ทกฺขิณา. ทกฺขฺ วุฑฺฒิยํ, อิโณ. เวสฯ ๔๕๔ วิ. ทกฺขนฺติ วหนกมฺเม อทนฺธตาย สิงฺฆํ คจฺฉนฺตีติ ทักขิณา. ต ปัจ. แปลงเป็น อีณ รัสสะ. ส. ทกฺษิณา.
อุปายน : (นปุ.) ของกำนัลที่ส่งไปให้, ของ ฝาก, บรรณาการ. วิ. อุเปยฺยเตติ อุปายนํ. อาปายิตพฺพนฺติ วา อุปายนํ. อุปปุพฺโพ, อิ คติมฺหิ, ยุ. ส. อุปายน.
กสฏ : (ปุ.) กาก ส่วนที่คั้นหรือคัดเอาของดี ออกแล้ว, เดน ของที่ไม่ต้องการแล้ว ของ ที่เหลือแล้ว. เป็น กสต ก็มี. กส. วิเลขเณ, โต.
กาพฺย : (นปุ.) คำของกวี, กาพย์ ชื่อของคำ ร้อยกรองทั่วไป. กาพย์ ไทยใช้เป็นชื่อของ คำร้อยกรองชนิดหนึ่งคล้ายฉันท์ แต่ไม่มี บังคับ ครุ ลหุ เช่นกาพย์สุรางคนางค์ เป็นต้น. กุ สทฺเท, โณฺย. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว ลบ อ ที่ ว เหลือ เป็น วฺ แล้วลบ ณฺ ของ ปัจ. ส. กาวฺย กาพฺย.
กายิกเจตสิกวิริย : (นปุ.) ความเพียรอันเป็น ไปทางกาย และความเพียรอันเป็นไป ทางจิต, ความเพียรอันเป็นไปในกายและ ความเพียรอัน เป็นไปในจิต. ลบ วิริย ของ ศัพท์ต้น.
กิตฺติม : (วิ.) ปลอม, แกล้งทำ (ของ...). กิตฺตฺ ธาตุในความเปรียบเทียบ อิม ปัจ.
เคยฺย : (นปุ.) คำอันบุคคลพึงขับ, คำเพียงดัง เพลงอันบุคคลพึงขับ, พระพุทธพจน์อัน ควรขับ, เคยยะ ชื่อองค์ที่ ๒ ใน ๙ ของ นวังคสัตถุสาสน์ ได้แก่พระสูตรมีคาถา แต่งเป็นร้อยแก้วบ้างร้อยกรองบ้าง. คา สทฺเท, ณฺย. แปลง โณฺย กับ อา เป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐. อีกนัยหนึ่งลบ ณฺ แล้วแปลง ย กับ อา เป็น เอยฺย.
ชาตก : (นปุ.) ชาตกะ ชื่อองค์ที่ ๗ ของ นวัง – คสัตถุสาสน์ แสดงเรื่องที่เกิดแล้วในชาต ก่อนๆ ชาตปุพฺโพ, เก สทฺเท, อ.
ต : (ไตรลิงค์) เป็นปุริสสัพพนามและวิเสสน- สัพพนาม ต ศัพท์ที่เป็นปุริสสัพพนามเป็น ประถมบุรุษสำหรับออกชื่อคนและสิ่ง ของ ซึ่งผู้พูดออกชื่อถึง แปลว่า ท่าน เธอ เขา มัน นาย นาง เป็นต้น ต ศัพท์ที่ เป็นวิเสสนสัพพนาม แปลว่า นั้น.
ทายิกา : (อิต.) หญิงผู้ให้, ทายิกา. ศัพท์ที่ สำเร็จมาจาก ณฺวุ ปัจ. เมื่อลง อาอิต. แล้วต้องแปลง อ ของ อักษรตัวหน้า ก (ก ที่แปลงมาจาก ณฺวุ) เป็น อิ เสมอ รูปฯ ๕๕๔.
ปภสฺสร : (วิ.) อันเป็นแดนซ่านออกแห่งรัศมี วิ. ปภา สรติ เอตสฺมาติ ปภสฺสโร. ปภาปุพฺโพ, สรฺ อกฺเขเป, อ. มีรัศมีเป็น แดนซ่านออก วิ. ปภสฺสโร อสฺส อตฺถีติ ปภสฺสโร. ณ ปัจ. ตทัตสัตถิตัท. ผ่อง, ผุดผ่อง, ผ่องใส, เลื่อมๆ พรายๆ ( สี... ), พราวๆ (แสง... ), สุกปลั่ง ( ของ... ). ปปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, สโร, รสฺโส, สฺสํโย- โค. ภสฺ ภาสทิตฺติยํ วา, อโร. อถวา, ปภา- ปุพฺโพ, สุ ปคฺฆรเณ, อโร.
หิยฺยตฺตน : (วิ.) เป็นในวันวาย, มีในวันวาน. วิ. หิยฺโย ภโว หิยฺยตฺตโน. ที่เป็นวิเสสนะ ของ อิต. เป็น หิยฺยตฺตนี. หิยฺย+ตน ปัจ.
*อนุคฺฆาเฏติ : ก. เปิด, ไม่ปิด, แก้ออก *ของ P.T.S.D. มีความหมายตรงข้ามแปลว่าปิด, มัด โดยแยกศัพท์เป็น น+อุคฺฆาเฏติ