มนฺตี : (ปุ.) คนมีปัญญา, คนมีความคิด, มนตรี (ผู้ปรึกษาราชการ ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่).
เสนาปติ : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นใหญ่แห่งเสนา, บุคคลผู้เป็นเจ้าแห่งเสนา, ขุนพล, นายพล, เสนาผู้ใหญ่, เสนาบดี ชื่อตำแหน่ง ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ผู้เป็นหัวหน้าของกระทรวง ปัจจุบันเรียกว่ารัฐมนตรี. ส. เสนาปติ.
เถรภูมิ : (อิต.) ชั้นแห่งพระเถระ, ขั้นแห่ง พระเถระ, ชั้นมั่น, ฐานะมั่น, เถรภูมิ ชื่อ ชั้นหรือฐานะของท่านผู้สอบความรู้ใน พระพุทธศาสนา ได้นักธรรมชั้นเอก หรือ หมายถึงพระผู้ใหญ่มีพรรษาครบ ๑๐ แล้ว.
ภูมิ : (อิต.) แผ่นดิน, ที่ดิน, พื้น, พื้นดิน, พื้นเพ, ปัญญา, ภาคพื้น, ขอบเขต, แดน, ชั้น, ลำดับ. วิ. ภวนฺติ อสฺสํ ภูตานีติ ภูมิ. ที่เกิด วิ. ภวนฺติ เอตฺถาติ ภูมิ. ภู สตฺตายํ, มิ.
มหนฺต : (วิ.) ใหญ่, ยิ่ง, มาก, นัก, โต, ผู้ใหญ่, แก่. มหฺ วุฑฺฒิยํ, อนฺโต.
ราชภฏ : ป. ทหาร, ผู้ที่พระราชาทรงชุบเลี้ยง, ข้าราชการ
อมจฺจ : (ปุ.) อมาตย์, อำมาตย์, ข้าราชการ, ขุนนาง, ข้าเฝ้า, มนตรี, เสนาบดี, เจ้ามณฑล.วิ.สพฺพกิจฺเจสุรญฺญามนฺเตนวาอมา สห ภวตีติอมจฺโจ.อมาศัพท์จฺจปัจ.ส. อมาตฺยอามาตฺย.
อวจร : ๑. นป. การท่องเที่ยวไป, ชั้น, แดน, บริเวณ, เขต, วิสัย ;
๒. ค. ซึ่งท่องเที่ยวไป, ซึ่งอยู่อาศัย
โอปุญฺฉน,- ปุญฺชน : นป. การนำมารวมกัน, การทำให้เป็นกอง, กอง, ชั้น, การทา, การถู, การเช็ด
คามโภชก : (ปุ.) นายบ้าน, พ่อบ้าน, ผู้ใหญ่ บ้าน, นายตำบล, กำนัน, นายอำเภอ.
อฏฺฐงฺค : (นปุ.) ส่วนแปด (แปดส่วน), ชั้น แปด (แปดชั้น), องค์แปด (แปดองค์).
ฉกามาวจร : (ปุ.) ภพเป็นที่เที่ยวไปของสัตว์ผู้ เสพกามหกชั้น, ฉกามาพจร ชื่อของสวรรค์ ๖ ชั้น เป็นที่อยู่ของสัตว์ผู้เสพกาม.
ฉตฺต ฉตฺร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ร่ม (เครื่องสำหรับกางป้องกันแดดเป็นต้น). วิ. อาตปาทึ ฉาเทตีติ ฉตฺตํ ฉตฺรํ วา. ฉทฺ สํวรเณ อปวารเณ จ, โต, ตฺรโณ. ฉัต ฉัตร ชื่อของเครื่องกกุธภัณฑ์ อย่าง ๑ ใน ๕ อย่าง อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของเครื่องสูง ทำเป็นชั้นๆ มีเสาเป็นแกน ชั้นใหญ่อยู่ ข้างล่าง ชั้นถัดขึ้นไปเล็กลงตามลำดับ ทำ ชั้นบ้าง ๕ ชั้นบ้างทำเป็น ๗ ชั้น สำหรับท่านผู้มีเกียรติอย่างสูง สำหรับพระ ราชาทำเป็น ๙ ชั้น ผู้อื่นจะทำเป็น ๙ ชั้น ไม่ได้ ส. ฉตฺร.
ปริตฺตาภ : (ปุ.) พรหมปริตตาภะ วิ. ปริตฺตา อาภา เอเตสนฺติ ปริตฺตาภา. เทวดาชั้น ปริตตาภะ, ปริตตาภะ ชื่อพรหมโลกชั้นที่ ๔ ใน ๑๖ ชั้น.
พฺรหฺมปาริสชฺช : (ปุ.) พรหมปาริสัช ชื่อ พรหมชั้นที่ ๑ ใน ๒๐ ชั้น.
มชฺฌิมสสาร : (ปุ.) สังสาร (การเวียนตายเวียนเกิด) อันมีในท่ามกลาง ได้แก่ การท่องเที่ยวไปในกามสุคติภูมิ ๗ (มนุษย์และสวรรค์ ๖ ชั้น) พระอนา -คามีตัดมัชฌิมสังสารได้ขาด.
มหาพฺรหฺม : (ปุ.) มหาพรหม ชื่อพรหมชั้นที่ ๓ ใน ๑๖ ชั้น ชื่อภพเป็นที่เกิดที่อยู่ของพรหมชั้นที่ ๓ นั้น (มหาพรหม).
สุทฺธาวาส : (ปุ.) สวรรค์ชั้นสุทธาวาส ชื่อพรหมโลกชั้น ๑ ใน ๑๖ ชั้น เป็นที่อยู่ของพระอนาคามี. วิ. สุทฺโธ อาวาโส เอเตสนฺติ สุทฺธาวาโส.
สุภกิณฺห : (ปุ.) สุภกิณหะ ชื่อภพเป็นที่อุบัติของสุภกิณหพรหม เป็นชั้นที่ ๙ ใน ๑๖ ชั้น ชื่อรูปพรหมชั้นที่ ๙ (ผู้มีรัศมีสวยงามตลอดทั่วไปทั้งร่างกาย). ลง ก สกัด เป็น สุภกิณฺหก บ้าง.
กตฺตุ : (ปุ.) นักการ คือพนักงานชั้นผู้น้อย มีหน้าที่นำหนังสือไปส่ง ณ ที่ต่าง ๆ ตามที่ได้รับคำสั่ง, พนักงาน. กตฺตุกมฺยตาฉนฺท
กปฺปาสปตล : นป. ชั้นหรือเยื่อบางๆ ของฝ้าย
กรุมฺภ : ป. เทวดาชั้นหนึ่ง
กามคุณ : (ปุ.) ชั้นของกาม, ส่วนอันเป็นกาม, ส่วนที่ปรารถนา, กามคุณ ได้แก่รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ อันพึงใจ.
กามเสฏฐ : ป. เทพชั้นหนึ่ง
กุฏุมฺพี : (ปุ.) คนมีทรัพย์, กุฏุมพี กระฏุมพี (คนมั่งมี, พ่อเรือน). ไทยใช้ กระฏุมพี หมายถึงคนชั้นเลวชั้นต่ำก็มี เช่น ไพร่ กระฏุมพี.
คามเชฏฐ : ป. หัวหน้าบ้าน, ผู้ใหญ่บ้าน
คามเชฏฺฐก : (ปุ.) คนผู้เป็นใหญ่ในหมู้บ้าน, นายบ้าน, ผู้ใหญ่บ้าน, พ่อหลว(ผู้ใหญ่บ้าน)
คามณิ : (ปุ.) คนผู้นำไปซึ่งชาวบ้าน, คนผู้นำ ชาวบ้าน, หัวหน้า, นายบ้าน, ผู้ใหญ่บ้าน. วิ. คามํ เนตีติ คามณิ. คามปุพฺโพ, นี นเย, อี, นสฺส ณตฺตํ, รสฺเส คามณิ (เป็น คามณิ เพราะรัสสะ อี เป็น อิ). อภิฯ ลง ณี ปัจ. เป็น คามนิ โดยไม่แปลง น บ้าง.
คามณิ, - ณี : ๑. ป. นายบ้าน, หัวหน้าบ้าน, ผู้ใหญ่บ้าน
๒. ค. หัวหน้า, ประเสริฐ, เลิศ, สูงสุด
คุณภาว : (ปุ.) ความดี, ชั้นของความดี, ลักษณะของความดี, คุณภาพ.
คุณสทฺท : (ปุ.) คำแสดงชั้นของนามนาม. คำ คุณ, คุณศัพท์ (คำวิเสสนะ คำวิเศษณ์ คือคำที่แสดงลักษณะของนามนาม).
จณฺฑาล : (ปุ.) คนเลว, คนต่ำ, คนชั้นต่ำ, คนดุ, ฯลฯ, คนจัณฑาล (ลูกของคนที่พ่อแม่ต่างวรรณะกัน).
จตุคฺคุณ : ค. ซึ่งคูณด้วยสี่, สี่เท้า, สี่ชั้น
จตุปล : ค. มีสี่ชั้น
จตุภูมก, - มิก : ค. มีสี่ภูมิ, มีสี่ชั้น
จตุภูมิ : (อิต.) ภูมิสี่(สี่ภูมิสี่ชั้น) วิ. จตสฺโส ภูมิโย จตุภูมิโย.
จตุมฺมหาราชิก : ค. จาตุมมหาราชิกะ, (หมู่เทวดา)ผู้เป็นบริวารของท้าวจาตุมมหาราชอยู่ในชั้นจาตุมมหาราชซึ่งเป็นสวรรค์ชั้นที่หนึ่ง
จาตุมฺมหาราชิก : (วิ.) (เทวดา) ชั้นจาตุมมหา- ราช วิ. จาตุมฺมหาราเชสุ ภตฺติ เอเตสนฺติ จาตุมฺมหาราชิกา ( ผู้ภักดีในท้าวมหาราช ทั้งสี่องค์ ). รูปฯ ๓๖๐. จาตุมฺมหาราเชสุ ถตฺตา เอเตสนฺติ จาตุมฺมหาราชิกา ( ผู้รับ ใช้ในท้าวมหาราชทั้งสี่องค์). โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๒ ณิกปัจ. สกัด.
จุฬมณิ จุฬามณี : (ปุ.) จุฬามณี ชื่อพระธาตุเจดีย์ ที่บรรจุพระเกศธาตุของพระพุทธเจ้าซึ่ง ประดิษฐานอยู่บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ส. จุฑามณี.
เชฏฺฐาปจายน : นป. การอ่อนน้อมต่อผู้ใหญ่
เชฏฺฐาปจายี : ค. ผู้อ่อนน้อมต่อผู้ใหญ่
ฏีกา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกำหนด, ฎีกา ชื่อ ของหนังสือที่อาจารย์แต่งแก้อรรถกถา บางทีแก้ทั้งบาลีด้วยจัดเป็นคัมภีร์ชั้นที่ สาม ชื่อของหนังสือที่เขียนนิมนต์พระสงฆ์ ชื่อของคำร้องทุกข์ที่ถวายพระเจ้า แผ่นดิน ชื่อของคำคัดค้านที่ยื่นต่อศาล สูงสุด ชื่อของศาลสำหรับตัดสินความชั้น สูงสุด. ฏิกฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา.
ตติยคุณ : (ปุ.) คุณชั้นที่สาม, คุณนามชั้นที่ สาม, คือ อติวิเสส.
ตล : (นปุ.) ชั้น, ชั้นล่าง,พื้น, ฝ่ามือ. วิ. ตลยติ เอตฺถ วตฺถุชาตนฺติ ตลํ. ตลฺ ปติฏฐายํ, อ.
ตาวตึส : (ปุ.) ดาวดึงส์ ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๒ ใน ๖ ชั้น, พิภพดาวดึงส์, ตรัยตรึงส์, ตรึงส์-ตรัย. วิ. เตตฺตึส ชนา นิพฺพตตนฺติ เอตฺถาติเตตฺตึโส. เตตฺตึโส เอว นิรุตฺตินเยน ตา วตึโส. แปลง เอ เป็น อย ทีฆะ อ ที่ ต เป็นอา แปลง ย เป็น ว หรือ แปลง เต เป็น ตาวลบ ตฺ สังโยค. ตาว ปฐม ตึสติ ปาตุภวตีติตาวตึโส. พื้นแผ่นดินใด เกิดปรากฏขึ้นในโลกเป็นครั้งแรกก่อน ( พื้นแผ่นดินอื่นๆ )พื้นแผ่นดินนั้น ชื่อดาวดึงส์.
ตาวตึสเทวโลก : ป. สวรรค์โลกชั้นดาวดึงส์; (โลกเป็นที่อยู่ของเทวดา ๓๓ ตน)
ติทสคตี : ค. ผู้ถึงเทวดาชั้นไตรทศ
ติทสภวน : นป. ภพของเทวดาชั้นไตรทศ
ติทสาลย : (ปุ.) ติทสาลยะ ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๕ ใน ๕ ชื่อ, สวรรค์, วิ, ติทสานํ เทวานํ อาลโย ฐานํ ติทสาลโย.
ตุฏฺฐปณฺฑิต : (ปุ.) ดุษฏีบัณฑิต เป็นคำเรียก ผู้ที่สอบได้ปริญญาเอกของสถานที่ศึกษา ชั้นอุดมศึกษา. ส. ตุษฺฏิปณฺฑิต.