ปจฺจตฺถิก : ป. มีประโยชน์ขัดกัน, มีความต้องการขัดกัน, ข้าศึก, คู่แข่ง
ปรชน : ป. คนอื่น, คนแปลกหน้า, คนภายนอก, คนฝ่ายตรงข้าม, ข้าศึก, ปีศาจ
ปรปกฺข : (ปุ.) ชนผู้เป็นฝักฝ่ายอื่น, ข้าศึก, ศัตรู, ปรปักษ์. ส. ปรปกฺษ.
ปริปนฺถิก : ค. ผู้ตกอยู่ในอันตราย, ผู้ขัดขวาง, ผู้คัดค้าน, ข้าศึก
วิโรธี : ค. ผู้ทำร้าย, ข้าศึก
อหิต : (ปุ.) วัน, ข้าศึก, ศัตรู. วิ. หิโนติวุทฺธึคจฺฉตีติหิโต.นหิโตอหิโต.
ปจฺจามิตฺต : ป. ข้าศึก
ริปุ : ป. ข้าศึก
วิทฺเทสี : ป. ข้าศึก
อริ : (ปุ.) ข้าศึก. ศัตรู.วิ. อรติปจฺจตฺถิกภาวนฺติอริ.อรฺคมเน, อิ.อถวา.อรฺนาเส, อิ.อปฺปโกรูปาทิปญฺจกามคุณสํขาโต โร กาโมเอเตนาติอริ.อริที่มาคู่กับปุญฺญแปลว่าอริว่าปาบ.ส.อริ.
อราติ : (ปุ.) ข้าศึก.ศัตรู.อรฺคมเน, ติ.ภูวาทิตฺตาอาอาคโม.
กณฺฏก : (ปุ.) ข้าศึก, หนาม, เงี่ยง, ความชูชัน แห่งขน, ขนชูชัน, อวัยวะแห่งต้นไม้?
คีตวาทิตวิสูกทสฺสน : (นปุ.) การขับและการประโคมและการดูการเล่นอันเป็นข้าศึก (แก่กุศล).
จาคาธิฏฐาน : ป. ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจคือจาคะ, ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจคือการสละสิ่งที่เป็นข้าศึกแก่ความจริงใจ (อธิษฐานธรรมอย่างหนึ่งในอธิษฐานธรรมสี่)
จารปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้เที่ยวไป, บุรุษผู้สอดแนม, แนวที่ห้า, จารบุรุษ (ผู้หาข่าวฝ่ายข้าศึกมา ให้ฝ่ายตน).
ชยปาน : (นปุ.) น้ำอันบุคคลพึงดื่มในการเป็น ที่ชนะข้าศึก, น้ำดื่มของทหารผู้ชนะ สงคราม, ชัยบาน.
ทิฏฺฐิวิสูก : นป. ทิฐิอันเป็นข้าศึก, ลัทธิตรงข้าม, ความเห็นผิด
ทิส : (ปุ.) ข้าศึก, ศัตรู. วิ. ทิสตีติ ทิโส. ทิสฺ อปปีติยํ, อ. ทุสฺสตีติ วา ทิโส. ทุสฺ โทสเน, อ. แปลง อุ เป็น อิ.
ทิสตา : อิต. ทิศ, ทิศทาง, เขต, ภาค, ส่วนแห่งโลก; ความเป็นข้าศึก, ความเป็นโจร
เทวตาริปุ : (ปุ.) ข้าศึกของเทวดา , อสูร.
เทสฺส : ๑. ป. ข้าศึก, ศัตรู;
๒. ค. น่ารังเกียจ, น่าเกลียด, น่าชัง
นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสน : (นปุ.) การฟ้อน รำและเพลงอันบุคคลพึงขับและดนตรี อันบุคคลพึงประโคมและการดูการเล่น อันเป็นข้าศึกแก่กุศล, การฟ้อนและการขับและการประโคมดนตรีและการดูการเล่นอันเป็นข้าศึกแก่กุศล. สำนวนการแปลแรกที่แปล คีต และ วาทิต ว่าพึงนั้นแปลตามรูป วิ. เคตพฺพนฺคิ คีตํ. วาทิตพฺพนฺติวาทิตํ.
นปุสก : (ปุ.) บัณเฑาะก์ (กะเทย), กะเทย (คนที่มีอวัยวะเพศทั้งชายและหญิง หรือ คนที่มีจิตใจกิริยาอาการตรงกันข้ามกับเพศของตน). คนมิใช่ชายมิใช่หญิง, คนมิใช่ หญิงมิใช่ชาย. วิ. อิตฺถีภาวปุมภาวรหิโต ปุคฺคโล, โส หิ ปุริโส วย สาติสยํ ปจฺจา- มิตฺเต น ปุเสติ อภิมทฺทนํ กาตํ น สกฺโกตีติ นปุสโก (ข่มขี่ข้าศึกไม่ได้). นปุพฺโพ. ปุสฺอภิมทฺทเน, ณฺวุ, นิคฺคหิตาคโม, เกจิ ปน น ปุมา น อิตฺถีติ นปุสโกติ ลจนตฺถํ วทนฺติ.
นาคาริ : (ปุ.) สัตว์ผู้เป็นข้าศึกแก่ง, ครุฑ.
นิกฺกณฺฏก : ค. ไม่มีหนาม, หมดเสี้ยนหนาม, ไม่มีข้าศึกศัตรู
ปจฺจนีก : ค. เป็นข้าศึกกัน, ตรงกันข้าม, ปัจนึก
ปฏิเสนิกตฺตุ : ป. ผู้กระทำความเป็นข้าศึก, ผู้ตั้งต้นเป็นศัตรู, ผู้สร้างศัตรู
ปฏิเสนิกโรติ : ก. กระทำความเป็นข้าศึก, ตั้งต้นเป็นศัตรู, แก้แค้น
ปรเสนา : อิต. ทหารฝ่ายอื่น, กองทัพข้าศึก
ปรหตฺถ : ป. เงื้อมมือ, มือของข้าศึก
ปรหตฺถคต : ค. ซึ่งตกอยู่ในเงื้อมมือของข้าศึก
ปราชย : (ปุ.) ความไม่ชนะแก่ข้าศึก, ความแพ้แก่ข้าศึก. ปร+ อชย. ความแพ้, ความพ่ายแพ้. ปราปุพฺโพ, ชิ ชเย, โณ. รเณยุทฺเธ โย ภงฺโค โส ปราชโย นาม. อภิฯ และ ฎีกาอภิฯ
ปริขา : (อิต.) คู ชื่อร่องน้ำที่ขุดขึ้นพื่อเป็น เครื่องกีดขวางป้องกัน หรือเก็บน้ำไว้ใช้, สนามเพลาะ ตือคูที่ขุดบังข้าศึก. วิ. ปริ สมนฺตโต นครสฺส พาหิเร ขญฺญตีติ ปริขา. ปริปุพฺโพ, ขณุ อวทารเณ, โร. รูปฯ ๕๗๙.
ปรูปกฺกม : ป. การรุกรานของข้าศึก
วิปกฺข : ป. ข้าศึก, ศัตรู
วิสูก : ค. เป็นข้าศึกของใจ
สปตฺต : (ปุ.) ข้าศึก, ศัตรู, ปรปักษ์. วิ. ทุกฺข-เหตุตฺตา สปตฺตี อิวาติ สปตฺโต. สกาโร รกฺขเส, โส วิย รกฺขโส วิย อญฺญฺมฺฺญฺญํ อหิตาสุขํ ปาเปตีติ สปตฺโต.
สุรริปุ : (ปุ.) ข้าศึกของเทวดา, อสูร.
อรณ : (วิ.) ไม่มีข้าศึก, ไม่มีข้าศึกคือกิเลส.ไม่มีกิเลส, ไม่มีความชั่ว, ไม่มีความเสีย-หาย, ไม่มีบาป, ไม่มีการรบ, ไม่มีเสียง.ส. อรณ.
อรรุ : (นปุ.) ข้าศึก, ศัตรู (ผู้ยังผุ้อื่นให้พินาศ).อรฺนาเส, รุ.
อรหนฺต : (ปุ.) พระอรหันต์.วิ.สํสารจกฺกสฺสอเรหตวาติอรหาอรหํวา(ผู้ขจัดเสียซึ่งซี่แห่งสังสารจักร).อคฺคทกฺขิเณยฺยภาเวณปูชนํอรหตีติอรหา(ผู้ควรซึ่งการบูชาเพราะความเป็นพระทักขิเณยยบุคคลผู้เลิศ).กิเลสารโยมคฺเคนหนีติ อรหา (ผู้กำจัดข้าศึกคือกิเลสท.ด้วยมรรค).นสนฺติเอตสฺสรหาติอรหา (ผู้ไม่มีปาบธรรม).นตฺถิ เอตสฺสรโหคมนํคตีสุปจฺจาชาตีติอรหํ.
อรินฺทม : (วิ.) ผู้ข่มข้าศึกวิ.อรึทมตีติอรินฺท-โม.อริปุพฺโพ, ทมฺทมเน, นุอาคโม.แปลงนุเป็นนิคฺคหิตแล้วแปลงเป็นนฺ.
อริสปฺป : (ปุ.) พังพอน (มีงูเป็นข้าศึก ข้าศึกของงู).
อวรุทฺธก : ค. ปิดล้อม, กั้น, ขัดขวาง, ขับไล่ ; อันเป็นข้าศึก
อสงฺกุสก : ค. ไม่ขัดกัน, ไม่เป็นข้าศึกกัน
อสุร : (ปุ.) สัตว์ผู้ไม่รุ่งโรจน์ในความเป็นอยู่, อมนุษย์, มาร, ปีศาจ, อสูร (อมนุษย์พวกหนึ่งซึ่งเป็นข้าศึกแก่เทวดา).
อาราติ : ป. ข้าศึก, ศัตรู
อินฺทาริ : (ปุ.) ข้าศึกของพระอินทรน์, อสูร, ผี,