อมฺห : (ปุ. อิต.) ฉัน, ข้า, กู, ฯลฯ.คำแทนตัวภิกษุแปลว่าอาตมภาพ, อาตมา, รุป.ลูกพูดกับพ่อแม่แปลว่าลูก, หนู.หญิงพูดกับคนใกล้ชิดหรือคุ้นเคยหรือ คนรักแปลว่าหนูชายพูดกับหญิงที่รักแปลว่าเรียม, พี่. อมฺหศัพท์เป็นคำแทนตัวผู้พูดบาลีไวยากรณ์เป็นบุรุษที่๓ไวยากรณ์ไทยเป็นบุรุษที่๑.
อมฺหิ : ก. (ข้า) มีอยู่, เป็นอยู่
ธนกฺกีต : ค. ผู้ที่ถูกไถ่มาด้วยทรัพย์, ข้าสินไถ่
ภควนฺตุ : (ปุ.) พระผู้มีพระภาคเจ้า. ศัพท์นี้ใช้เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าเท่านั้น และใช้เป็น ๓ วจนะ คือ เอกวจนะ ท๎วิวจนะ และ พหุวจนะ ใช้เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวงด้วย ที่เป็น อาลปนะ แปลว่า พระพุทธเจ้าข้า ได้. พระนามนี้มีอรรถมากตามธาตุ. ภชฺ เสวายํ ภาชเน จ ทาเน จ. ภญฺชฺ อวมทฺทเน, วนฺตุ ปัจ. แปลง ช เป็น ค ถ้าตั้ง ภญฺชฺ ธาตุ พึงลบ ญฺ สังโยค. ไตร. ๒๙, ๓๐.
ภจฺจ : (ปุ.) สัตว์อันบุคคลพึงเลี้ยง, บ่าว, ไพร่, บ่าวไพร่, ข้าใช้, คนรับใช้, คนใช้, อำมาตย์. วิ. ภรียตีติ ภจฺโจ. ภรฺ ธารณโปสเนสุ, ริจฺจปจฺจโย. ลบ รฺ, รฺ และ อิ. ภริตพฺโพติ วา ภจฺโจ. รูปฯ ๕๔๒. โมคฯ ลง ย ปัจ. แปลงเป็น จฺจ ลบ รฺ อีกอย่างหนึ่งว่ามาจาก ภต ศัพท์ แปลง ต เป็น จ ซ้อน จฺ ว่านน้ำ ก็แปล.
ภทฺเท : อ. แน่ะ, ดูกร, ข้าแต่นางผู้เจริญ
ภนฺเต : อ. ข้าแต่ท่านผู้เจริญใช้เรียกพระผู้ใหญ่
ภนฺเต ภทนฺเต : (อัพ. นิบาต) เป็นคำสำหรับฆราวาสพูดกับนักบวช หรือนักบวชผู้มีพรรษาอ่อนพูดกับนักบวชผู้มีพรรษาแก่กว่า แปลว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ท่านเจ้าข้า เจ้าข้า พระเจ้าข้า พระพุทธเจ้าข้า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ, ฯลฯ.
เสวก : (ปุ.) ข้าเฝ้า, อำมาตย์, เสวก(เส+วก ข้าราชการในราชสำนัก). เสวฺเสวเน, ณฺวุ.
อนุชีวี : (ปุ.) ข้าเฝ้า, คนผู้ติดสอยห้อยตาม, คนใช้.วิ.ปภุโนปจฺฉาชีวตีติอนุชีวี.อนุ-ปุพฺโพ, ชีวฺปาณธารเณ, ณี.ส.อนุชีวินฺ.
อมจฺจ : (ปุ.) อมาตย์, อำมาตย์, ข้าราชการ, ขุนนาง, ข้าเฝ้า, มนตรี, เสนาบดี, เจ้ามณฑล.วิ.สพฺพกิจฺเจสุรญฺญามนฺเตนวาอมา สห ภวตีติอมจฺโจ.อมาศัพท์จฺจปัจ.ส. อมาตฺยอามาตฺย.
อมฺม, อมฺมา : ๑. อ. แน่ะแม่, ข้าแต่แม่ ; เป็นคำร้องเรียกหญิงที่สนิทกัน เช่น แม่มหาจำเริญ ;
๒. อิต. แม่
ปาสาณเลข, - ขา : ป., อิต. รอยเขียนบนหิน, ศิลาจารึก, การเขียนบนแผ่นหิน
ขาริก : ๑. ค. มีรสเค็ม, มีรสแสบ;
๒. ค. เนื่องด้วยมาตราตวงชื่อว่า ขารี
ขาริ ขารี : (อิต.) ขารี ชื่อมาตราตวง ๔ มาณิ- กาเป็น ๑ ขารี วิ. จตุสฺสนฺนํ มาณิกานํ สฺมูโห ขารี นาม. แปลว่า สาแหรก ก็มี.
ขาตุตหุ : นป. คู, คลอง
ขาทก : ค. ผู้กิน, ผู้อาศัย (อาหาร) เป็นอยู่
ขาทน : (นปุ.) การกัด, การกิน, การกัดกิน, การเคี้ยวกิน. ขาทฺ ภกฺขเณ, ยุ.
ขาทา : อิต. อาหาร
ขาทาปน : นป. การให้เคี้ยวกิน, การป้อน
ขาทาเปติ : ก. ให้เคี้ยวกิน, ป้อน
ขาทิตตฺต : นป. ความเป็นสิ่งอันเขาเคี้ยวกินแล้ว, การถูกเคี้ยวกินแล้ว
ขาทิตปีตนจฺจคีตวาทิตาทิ : (วิ.) มีวัตถุอันบุคคลเคี้ยวกินแล้วและวัตถุ (น้ำ) อันบุคคล ดื่มแล้วและเครื่องดนตรีมีอันฟ้อนและอันขับและอันประโคม เป็นต้น. เป็น อ. ทวัน. มี อ. ทวัน. และ ฉ. ตุล. เป็น ภายใน.
ขาทิตุ : อ. (ปฐ., จตุ.) การเคี้ยวกิน, เพื่อเคี้ยวกิน
ขานิก : (นปุ.) โพรง, รู, ช่อง, ปล่อง.
ขารก : (ปุ.) ดอกไม้เพิ่งผลิ, ดอกไม้เพิ่งจะ แตกออก. ขรฺ วินาเส, ณฺวุ.
ขาราปตจฺฉิก : ป. การทรมาน, การลงโทษวิธีหนึ่ง โดยการใช้มีดสับร่างกายแล้วเอาแผลจุ่มน้ำกรดทำให้เนื้อหนังเอ็นหลุดไปให้เหลือแต่โครงกระดูก
ขาริกาช, ขาริวิธ : ป., นป. สาแหรก, เครื่องหาบบริขารของพวกดาบส
ขาริ, ขารี : อิต. มาตราตวงเท่ากับ ๓ มาณิกา
ขาริภาร : (ปุ.) เครื่องหาบ.
ขาโรทก : (นปุ.) น้ำด่าง.
ขาณุ ขานุ ขานุก : (ปุ. นปุ.) ตอ, ตอไม้, หลัก, หลักตอ. อภิฯวิ. ขญฺญติ อวทารียตีติ ขาณุ. ขณุ อวทารเณ, ณุ, ณสฺสา (แปลง ณ ตัวธาตุ เป็น อา). กัจฯ ๖๗๑ วิ. ขณิตพฺโพ อวทาริต- พฺโพติ ขาณุ ขานุ วา. กัจฯ และ รูปฯ ลง ณุ นุ ปปัจ. ตัวนี้ไม่ลบ ศัพท์หลังลง ก สกัด.
ติติกฺขา : (อิต.) ความอดทน, ความอดกลั้น, ความทนทาน, ความอดใจ, ความบึกบึน. ติชฺ ขนฺติยํ, โข. เทว๎ภาวะ ติ แปลง ชฺ เป็น กฺ อาอิต. เป็น ตีติกฺขา บ้าง.
เทวขาตก : (นปุ.) เหมืองน้อย วิ. เทเวน ขาตํ เทวขาตกํ (เทวดาขุด เนรมิต). ก สดัด. ส. เทวขาต.
มุขาธาน : (นปุ.) บังเหียน, บังเหียนม้า. วิ. มุขํ อติฏฺฐตีติ มุขาธานํ. มุข+อา+ฐา ธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ฐา เป็น ธา.
สิกฺขา : (อิต.) ปฏิปทาอันบุคคลพึงศึกษา, ปฏิปทาอันเขาพึงศึกษา, ทางดำเนินอันบุคคลพึงศึกษา, ข้อที่ควรศึกษา, ข้อปฏิบัติที่ควรศึกษา, วิชชาอันบุคคลพึงศึกษา, หัวข้อที่ควรศึกษา. วิ. สิกฺขิตพฺพนฺติ สิกฺขา, ปฏิปทาอันเขาย่อมศึกษา, ฯลฯ. วิ. สกฺขิยตีติ สิกฺขา, การศึกษา, การเล่าเรียน, การสำเหนียก (เอาใจใส่ กำหนดจดจำ). วิ. สิกขนํ สิกฺขา. อ ปัจ. อา อิต. พระพุทธศาสนาวางข้อ (เรื่อง) ที่ควรศึกษาไว้ ๓ คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกว่า ไตรสิกขา.
หตฺถสิกฺขา : (อิต.) การศึกษาวิชาเนื่องด้วยมือ, หัตถศึกษา คือวิชาเกี่ยวกับการประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆด้วยมือ. วิ. หตฺถพทฺธวิชฺชาย สิกฺขา หตฺถสิกฺขา. ลบ พทฺธวิชฺชา.
อสงฺขาริก : (นปุ.) ความไม่ปรุงแต่ง. วิ.อสงฺขโรเยวอสงฺขาริกํ.ณิกปัจ.สกัดรูปฯ ๓๖๐.
อุกฺขลิ อุกฺขา อุขา : (อิต.) หม้อ, หม้อข้าว, กระถาง. วิ. อุสตีติ อุกฺขลิ. อุสฺ ทาเห, อิ, สสฺส ขลาเทโส, กฺสํโยโค. คำที่ ๒, ๓ ตั้ง อุขฺ คมเน, อ. คำที่ ๒ ซ้อน กฺ. ส. อุขา.
อุเปกฺขา : (อิต.) ความเพ่ง, ความเล็ง, ความหวัง, ความวางเฉย, ความวางใจเป็นกลาง, ความมีใจเฉยอยู่, ความเที่ยงธรรม (มีใจ มั่นอยู่ในกัมมัสสกตาญาณ.) วิ. ทฺวินฺนํ เวทนานํ สมีเป ปวตฺตา อิกฺขา อนุภวนฺนตีติ อุเปกฺขา. อุปตฺติโต อกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุเปกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุปปุพฺโพ, อิกฺขฺ ทสฺสนงฺเกสุ, อ. เป็น อุเปขา โดยลบ กฺ ก็มี. ส. อุเปกฺษา.
กขา กงฺขา : (อิต.) ความแคลง, ความแคลงใจ, ความไม่แน่ใจ, ความเคลือบแคลง, ความกินแหนง, ความลังเล, ความสงสัย, ความสนเท่ห์. กขิ กํขฺ วา วิจิกิจฺฉายํ, อ, อิตถิยํ อา.
กงฺขาธมฺม : ป. สภาวะคือความสงสัยแห่งใจ
กงฺขาวิตรณ : นป. การก้าวล่วงความสงสัย, การข้ามความสงสัยเสียได้
กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ : (อิต.) ความหมดจดอัน ก้าวล่วงซึ่งความสงสัย, ความหมดจดแห่ง ญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย.
กฏจฺฉุภิกฺขา : อิต. ภิกษาทัพพีหนึ่ง, ข้าวทัพพีหนึ่ง
กิมกฺขายี : ค. ผู้มีปกติกล่าวว่าอย่างไร
กึอกฺขายี : ค. มีปกติกล่าวว่าอย่างไร, หรืออะไร, ผู้มักถาม
กุณฺฑกขาทก : ค. ผู้กินรำข้าว (เป็นอาหาร)
ขฏขาทก : ป. ถ้วยแก้ว; สุนัขจิ้งจอก; กา