Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: คณา , then คณ, คณะ, คณา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : คณา, 69 found, display 1-50
  1. คณาราม : ป. ผู้ยินดีในหมู่คณะ
  2. คณารามตา : อิต. ความเป็นผู้ยินดีในหมู่คณะ
  3. คณาจริย : (ปุ.) อาจารย์ของหมู่, คณาจารย์ (อาจารย์ของมหาชน). ภาษาพูด เรียก พระที่มีวิชาอาคมขลังว่าพระคณาจารย์ ซึ่งมีความหมายไม่ตรงกับศัพท์นี้.
  4. คณ : (ปุ.) การนับ, การคำนวณ, หมวด, หมู่, ฝูง, พวก, ปนะชุม, หมู่แห่งภิกษุ, คณะ (กลุ่มชนกลุ่มหนึ่งๆ หรือแผนกหนึ่งๆของ มหาวิทยาลัย). วิ. คณียติ อวยเวน สหาติ คโณ. คณฺ สํขฺยาเณ, อ.
  5. คณพนฺธิก : ค. ซึ่งพัวพันด้วยหมู่คณะ
  6. คณโภชน : (นปุ.) โภชนะเป็นคณะ, การฉันเป็น หมู่. ภิกษุตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปรับนิมนต์ ออกชื่อโภชนะ คือทายกทายิกา นิมนต์ โดยออกชื่ออาหาร เช่นกล่าวว่า นิมนต์ฉันแกงไก่ แล้วภิกษุไปฉัน เรียกว่าคณะโภชนะ (ฉันเป็นคณะ). โภชนวรรคสิกขาบทที่ ๒ ไตร. ๒/๓๑๓.
  7. คณสงฺคนิกา : อิต. ความปรารถนาจะอยู่กับหมู่คณะ
  8. คณปูรก : (วิ.) ผู้ยังหมู่ให้เต็ฒ, ผู้ยังหมู่ให้ครบ จำนวณ, ผู้ยังหมู่ให้ครบจำนวณตามกฏ.
  9. คณพนฺธน : นป. ความผูกพันกันเป็นหมู่, การร่วมมือกัน
  10. คณสงฺคนิก : ค. อันเกี่ยวข้องด้วยหมู่, อันนับเนื่องในหมู่
  11. กร : (ปุ.) บุคคลผู้ทำ, แขน, มือ, งวง, กาย, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, ฝูง. กรฺ กรเณ, อ. ส. กร.
  12. คณี : (ปุ.) คณีใช้เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า แปลว่าทรงมีคณะคือหมู่แห่งพระสงฆ์.
  13. คุมฺพ : (ปุ.) กอ, กอไม้, พง, พุ่ม, พุ่มไม้, ซุ้ม ไม้, สุมทุม (ซุ้มไม้ที่ปกคลุมด้วยต้นไม้ และเถาวัลย์) หมู่, พวก, ฝูง, ประชุม, กอง, คณะ, กลุ่มก้อน, กองทหาร, ขบวนทัพ, เสา. คุปฺ รกฺขเณ, โพ, ปสฺส โม. คุมฺพฺ คุมฺพเน วา, อ.
  14. จย : (ปุ.) การก่อ, การสะสม, การรวบรวม, ความสะสม, ความรวบรวม, ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, หมวด, ดินที่ถม อุ. จโย ปริปตติ. ดินที่ถมพังทะลาย. จิ จเย, อ.
  15. ทิชคณ : ป. คณะแห่งพราหมณ์, หมู่พราหมณ์หรือฝูงนก
  16. เทวคณ : ป. คณะเทพ, หมู่เทวดา
  17. นิกาย : (ปุ.) ที่อยู่, เรือน. วิ. นิจิยฺยเตฉาทิยเตตี นิกาโย. นิปุพโพ, จิ จเย, โย. แปลง จิ เป็น กาในเพราะยปัจ. ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, สภา, บริษัท, นิกาย ชื่อหมวด คัมภีร์ในพระสุตตันตปิฎก มี ๕ นิกาย คือ ๑. ทีฆนิกาย ๒. มัชฌิมนิกาย ๓. สังยุตตนิกาย ๔. อังคุตตรนิกาย และ ๕. ขุททกนิกาย ชื่อหมู่ชนผู้มีธรรมร่วม กันประพฤติธรรมร่วมกัน เช่น มหานิกาย. วิ. นิพฺพิเสเสน จิโนติ อวยเวติ นิกาโย. กุลํ สธมฺมีนํ สมานธมฺมานเมว ชนฺตูนํ คโณ นิกาโย นาม. ส. นิกาย.
  18. วคฺค : ป. วรรค, พรรค, หมู่, คณะ; วรรคตอนของหนังสือ
  19. สมิติ : (อิต.) ฝูง, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, สังคม. วิ. สหาวยเวน เอตีติ สมิติ, สหปุพฺโพ, อิ คติมฺหิ, ติ.
  20. สมุจฺจย : (ปุ.) การก่อขึ้นพร้อม, การสะสม, การสั่งสม, การรวบรวม, การพอกพูน, ความก่อขึ้นพร้อม, การประมวล, ฯลฯ, ฝูง, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, ชุมนุม, สมุจจัย. วิ. สห อุจฺจียนฺเตติ
  21. กรงฺคณ : นป. ตลาด
  22. คณิ : ป. ระมาด, กวาง
  23. คณิ คณี โคกณฺณ : (ปุ.) กวาง. ละมั่งก็แปล. งามเมือง, หญิงแพศยา (หญิงหากินใน ทางค้าประเวณี).
  24. คุณ : (วิ.) ซ้อน, ทบ, รอง, น้อย, ประกาศ.
  25. คุณคณ : อิต. หมวดแห่งคุณ, กองแห่งคุณ
  26. คุณี : ค. ดู คุณวนฺตุ
  27. โคณ : (ปุ.) โค, โคผู้. วิ. คจฺฉตีติ โคโณ. คมฺ คติยํ, ยุ, มฺโลโป, อสฺโส แปลง น ซึ่งแปลง จาก ยุ เป็น ณ.
  28. วาติงฺคณ : ป. มะอึก, มะเขือ
  29. อริยคณ : ป. หมู่อริยะ
  30. อาลิงฺคณ อาลิงฺคน : (นปุ.) การสวมกอด, การเคล้าคลึง, การอิงแอบ, ความสวมกอด, ฯลฯ. วิ. อาลิงฺคียเตติ อาลิงฺคณํ อาลิงคนํ วา. อาปุพฺโพ, ลิงฺคฺ คมเน, ยุ. ส. อาลิงฺคน.
  31. นิจย : (ปุ.) อันสะสม, อันรวบรวม, การสะสม, การรวบรวม, ความสะสม, ความรวบรวม, ฝูง, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ นิปุพฺโพ, จิ จเย, อ. ส. นิจย.
  32. ชาต : (ปุ. นปุ.) ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ. ชนฺ ชนเน, โต. แปลง ชนฺ เป็น ชา กัจฯ ๕๘๕ ว่า แปลงพยัญชนะที่สุดธาตุ เป็น อา.
  33. ทูตานุทูต : (ปุ.) ทูตและทูตตาม. ทูตใหญ่และทูตน้อย, ทูตานุทูต (ทูตใหญ่น้อย คณะ ทูต).
  34. นิกร : (ปุ.) ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, หมวด, คณะ. วิ. อวยวํ สมีเป กโรตีติ นิกโร. ส. นิกร.
  35. นิวห : (ปุ.) ฝูง, หมู่ พวก, ประชุม, กอง, คณะ. นิปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณเน, อ. วิ. นิสฺเสสโต วหติ อวยวนฺติ นิวโห. ส. นิวห.
  36. พฺยุห : (ปุ.) กระบวน, ขบวน, กระบวนทัพ, กองทัพ, ฝูง, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ. วิปุพฺโพ, อูหฺ สมฺปิณฺฑเน, อ. แปลง อิ เป็น ย วฺ เป็น พฺ รัสสะ อู เป็น อุ.
  37. สนฺโทห : (ปุ.) ฝูง, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ. วิ. สหาวยเวน ทูหยตีติ สนฺเทโห. ทุหฺ ปปูรเณ, โณ. ส. สนฺโทห.
  38. สนฺนิจย : (ปุ.) ฝูง, หมวด, หมู่ พวก, ประชุม, กอง, คณะ.
  39. สมย : (ปุ.) ขณะ, ครั้ง, ครา, คราว, หน, กาล, เวลา, ฤดู, โอกาส. วิ. สํ ปุนปฺปุนํ เอติ อยติ วาติ สมโย. สํปุพฺโพ, อิ อยฺ วา คติยํ, อ. การได้, การถึง, การเห็น, ความเห็น, ลัทธิ, มติ, ทิฏฐิ, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงแห่งเหตุ, การณะ, เหตุการประชุม, หมวด, หมู่, กอง, คณะ. วิ. สมนฺตโต อยนํ คติ สมโย. การแทงตลอด, ฯลฯ. วิ. สํสุฎชุ สมฺมา วา อวิปริตากาเรน อยิตพฺโพ ญาตพฺโพติ สมโย. การละ, การสละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง. ส. สมย.
  40. โอฆ : (ปุ.) ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, หมวด, กอง, คณะ. อวปุพฺโพ, หนฺ คติยํ, อ, หนสฺสโฆ. อุจฺ สมวาเย วา, โณ, จสฺสโฆ. ส. โอฆ.
  41. คาห : (วิ.) จับ,กุม,ยึด,ถือ. คหฺ อุปาทาเน,โณ.ผู้จับ วิ. คณ.หาตีติ คาโห.กวน,รับกวน,ทำให้ ปั่นป่วน. คาหุ วิโลลเน, อ.
  42. กลาป : (ปุ.) คณะ, ฝูง, หมู่, พวก, กอง, ประชุม. วิ. กลํ อวยวํ ปาตีติ กลาโป. กลปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, อ. ส. กลาป. กลาป
  43. คณก : (ปุ.) นักคำนวณ, โหร. วิ. คณยตีติ คณโก. อ ปัจ. ก สกัด อภิฯ ลง ณฺวุ ปัจ.
  44. คณฺฑ : (ปุ.) แก้ม. คณฺฑฺ วทเนกเทเส, อ. คมฺ คติยํ วา, โฑ. วิ. คจฺฉติ สุนภาวนฺติ คณฺ โฑ. แปลง มฺ เป็น ณฺ.
  45. ฉนฺโทวิจิติ : (อิต.) ฉันโทวิจิติ ชื่อวิธีเรียนพระเวท อย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง คือรู้จัก คณะฉันท์ และแต่งฉันท์ได้.
  46. ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
  47. ญาติสงฺฆ : ป. หมู่ญาติ, คณะญาติ
  48. ฐานานุกฺกม : (ปุ.) อันก้าวไปตามซึ่งตำแหน่ง, ความก้าวไปตามฐานะ, ฐานานุกรม ชื่อ ลำดับตำแหน่งสมณศักดิ์พระสงฆ์ ซึ่งพระ ราชาคณะมีอำนาจตั้งสมณศักดิ์ให้ตามที่ ท่านได้มาเมื่อรับพระราชทานสมณศักดิ์.
  49. ทาลคณ : ป. คณะแห่งทาส, หมู่ทาส, กลุ่มทาส
  50. ทาสีคณ : ป. คณะแห่งนางทาสี, หมู่นางทาสี, กลุ่มนางทาสี
  51. [1-50] | 51-69

(0.0208 sec)