กุฏิล : ค., นป. โค้ง, งอ, โกง, คดโกง; ส่วนที่โค้ง, ที่คด, ที่งอ
ทุพฺภติ : ก. ประทุษร้าย, ทรยศ, คดโกง, หักหลัง
วญฺเจติ : ก. ล่อลวง, คดโกง
อุกฺโกเฏติ : ก. รื้อฟื้น, ยกขึ้นมาพิจารณาใหม่, คดโกง
เกฏภี : ค. ผู้คดโกง, ผู้หลอกลวง
เกราฏิก : ค., ป. ผู้คดโกง, ผู้หลอกลวง; คนโกง, คนหลอกลวง, คนตระหนี่
เกราฏิย : นป. ความคดโกง, ความหลอกลวง
โกฏิล : ค. ผู้คดโกง
โกฏิลฺล : นป. ความคดโกง
ชิมฺหตา : อิต. ความคดโกง, ความไม่ซื่อ
ทุจฺจริต : (นปุ.) ความประพฤติชั่ว, ความประพฤติเสียหาย, บาป. วิ. ทุ กุจฺฉิตํ จริตํ ทุจฺจริตํ. สารัตถทีปนี วิ. ทุฏฐ จริตํ ทุจฺจริตํ. วิเสเสหิ วา ทูสิตํ จริตนฺติ ทุจฺจริตํ. ทูสิต นั้นคือ ทุสฺ โทสเน, โต, อิอาคโม, ทีโฆ. คำ ทุจจริตนี้ ไทยใช้ว่า คดโกง, ฯลฯ. ส. ทุรฺศฺจริต ทุรฺจริต.
ทุพฺภ : ค. ผู้ประทุษร้าย, ผู้ทรยศ, ผู้คดโกง, ผู้หักหลัง
ทุพฺภน : นป. การประทุษร้าย, การทรยศ, การคดโกง, การหักหลัง
ทูภี : ค., อิต. ผู้ประทุษร้าย, ผู้คดโกง, ผู้ทรยศ, ผู้หักหลัง; การทรยศ, การหักหลัง
วญฺจก : ป. ผู้ล่อลวง, ผู้คดโกง
วญฺจน : นป., -นา อิต. การล่อลวง, การคดโกง
วญฺจนิก : ค. ซึ่งล่อลวง, ซึ่งคดโกง
อกุฎิล : ค. ไม่คดโกง
อสฐ : ค. ไม่โอ้อวด, ไม่คดโกง
อุกฺโกฏน : นป. การคดโกง, การกินสินบน; ความลำเอียง