คติ : (อิต.) การเดินทางไปรบ, การยกทัพออก ไปรบ. คมฺ คติยํ, ติ, มฺโลโป. ส. คติ.
คติก, คตี : ค. ผู้ไป, ผู้เดิน, ผู้อยู่
คติ. : (อิต.) ภพเป็นที่ไปของสัตว์ (มีกามภพ เป็นต้น), ภูมิอันสัตว์พึงไป, ภูมิเป็นที่ไป ของสัตว์. วิ. สุกตทุกฺกตกมฺมวเสน คนฺตพฺ- พาติ คติ. ความหมดจด, ความสละสลวย, ความเป็นอยู่, ความรู้, ความสำเร็จ, ความตกลง(ลงเอย), ที่เป็นที่อยู่, ที่อาศัยแบบ, แบบอย่าง, ลักษณะ, กำเนิด, ความเกิด, คดี (เรื่อง ความที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), การส่ง, การไป, การเป็นไป, การดำเนิน, การดำเนินไป, การไป, การเคลื่อน, การถึง, การบรรลุ, ทาง, ทางไป, ทางดำเนิน, ทาง ดำเนินไป, อัชฌาสัย. วิ. คมนํ คติ. ส. คติ.
คติคต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งอันไป, ลุกลามไปแล้ว.
คติเฉกภาว : (ปุ.) ความฉลาดในการดำเนิน, ฯลฯ.
คตินิวตฺติ : (อิต.) การห้ามการไป, การหยุด, ฯลฯ.
คติปฏิฆาต : (วิ.) กำจัดการไป, หยุด, ฯลฯ.
คติเวกลฺล : (วิ.) ขาดแคลนการไป, ไปลำบาก, เป็นง่อย, เป็นกระจอก, เขยก.
ทุคฺคติ : (อิต.) คติชั่ว วิ. ทุฎฺฐุ คติ ทุคฺคติ. ลบ ฎฺฐุ ซ้อน คฺ. คติอันบัณฑิตติเตียน วิ. กุจฺฉิตา คติ ทุคฺคติ. ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น ทุ, การไปชั่ว, ความเป็นไปชั่ว, ภูมิเป็นที่ไป ชั่ว. ทุ+คติ ซ้อน คฺ. ที่เป็นที่ไปแห่งทุกข์, ที่เป็นที่ถึงซึ่งทุกข์. วิ. ทุกขสส คติ ทุคคติ. ลบ กขฺ ซ้อน ค. ภูมิเป็นที่ตั้งแห่งทุกข์ วิ. ทุกฺขสฺส คติ ปติฏฺฐา ทุคฺคติ, ทุคคติ (ภพชั่ว). ส. ทุรฺคติ.
กมฺมคติ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ไปแห่งกรรม, ความเป็นไปแห่งกรรม, ทางดำเนินแห่งกรรม, ส. กรฺมคติ.
คต : (นปุ.) การเดิน, การไป, ความไป, ความเป็นไป. คมฺ คติยํ, โต, มฺโลโป ต ปัจ. ลง ในภาวะ.
ทุคฺคติปรายน : (วิ.) ผู้มีทุคคติเป็นที่ไปในเบื้องหน้า.
ปรมตฺถคติ : อิต. คติอันสูงสุด, ทางไปแห่งชีวิตอันยอดเยี่ยม ได้แก่ ปนุปาทิเสสนิพพาน
อุทฺธคติ : (อิต.) คติเบื้องบน, คติเบื้องสูง.
ทิฏฺฐคติ : (นปุ.) แปลเหมือน ทิฏฺฐ. ลง คต สกัด.
ฉนฺทาคติ : (อิต.) ความลำเอียงเพราะความรัก, ความลำเอียงเพราะความรักใคร่, ความลำเอียงเพราะความรักใคร่กัน ความลำ เอียงเพราะความพอใจ.
ชคฺคติ : ก. ดูแล, รักษา, เอาใจใส่, บำรุงเลี้ยง, ระวัง
ชคติปฺปเทส : ป. ประเทศแห่งแผ่นดิน, ถิ่นที่บนพื้นโลก, ภูมิประเทศ
ชคติรห : ป. ต้นไม้, สิ่งที่ขึ้นบนแผ่นดิน
ทิฏฺฐานุคติ : (อิต.) อันเป็นไปตามซึ่งความยินดี, ฯลฯ, อันเป็นไปตามซึ่งความเห็น, อันเป็นไปตามซึ่งทิฎฐิ, ความดูเยี่ยงด้วยสามารถแห่งทิฎฐิ, ความดำเนินตามซึ่ง สิ่งอันปรากฏ, แบบอย่าง.
นิคฺคติก : ค. มีเคราะห์กรรมร้าย, ซึ่งเคราะห์ร้าย, อันเลวร้าย, ซึ่งทุกข์ยาก
นิคติ : อิต. เคราะห์กรรม, สถานะ, สภาวะ, ภาวะ, พฤติการณ์, ความประพฤติ
ปฏิชคฺคติ : ก. ปฏิบัติ, บำรุง, ดูแล, เลี้ยงดู, ซ่อมแซม
โปราณคติ : (อิต.) เรื่องมีในก่อน, เรื่องมีในกาลก่อน, เรื่องเก่า, โบราณคดี (เรื่องเกี่ยวกับโบราณ).
มคฺคติ : ก. แสวงหา, ค้นหา
ลคฺคติ : ก. ข้อง, ยึด, เกาะ
อคฺคติ : ก. บิดพริ้ว
องฺคติ : ก. ไป, ถึง, เป็นไป
อตฺถคติ : (อิต.) อันถึงซึ่งเนื้อความ, อรรถคดี(เรื่องที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล).
อโธคติ : (อิต.) ความไปต่ำ, ความต่ำต้อย, ความต่ำทราม.
อนุคติ : อิต. การไปตาม, การติดตาม
อสงฺคติ : (อิต.) อันไม่ไปร่วม, ความไม่ไปร่วม.
อาลิงฺคติ : ก. สวมกอด, กอดรัด, เคล้าคลึง
อิงฺคติ : ก. ไป, ถึง, เป็นไป
อุคฺคติ : อิต. การขึ้นไป, โผล่ขึ้น, ปรากฏ
ทุคคต : (วิ.) ยาก, จน, ยากจน, เข็ญใจ. วิ. ทุ นินฺทิตํ คติ คมน มสฺสาติ ทุคฺคโต. ทุกฺเขน วา กิจฺเฉน คตํ คมนํ ยสฺส โส ทุคฺคโต. อถวา, ทุกฺเขน กิจฺเฉน คต คมนํ อนฺน ปานาทิลาโภ ยสฺส โส ทุคฺคโต . ส. ทุรฺคต.
จมฺม : (นปุ.) โล่ ชื่อเครื่องปกป้องศัตรา มีรูป ร่างต่างๆ จรฺ คติ-ภกฺขเณสุ, โม. ลบ รฺ ซ้อน มฺ หรือแปลง รฺ เป็น มฺ หรือตั้ง จมุ อทเน, อ. ซ้อน มฺ.
สมย : (ปุ.) ขณะ, ครั้ง, ครา, คราว, หน, กาล, เวลา, ฤดู, โอกาส. วิ. สํ ปุนปฺปุนํ เอติ อยติ วาติ สมโย. สํปุพฺโพ, อิ อยฺ วา คติยํ, อ. การได้, การถึง, การเห็น, ความเห็น, ลัทธิ, มติ, ทิฏฐิ, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงแห่งเหตุ, การณะ, เหตุการประชุม, หมวด, หมู่, กอง, คณะ. วิ. สมนฺตโต อยนํ คติ สมโย. การแทงตลอด, ฯลฯ. วิ. สํสุฎชุ สมฺมา วา อวิปริตากาเรน อยิตพฺโพ ญาตพฺโพติ สมโย. การละ, การสละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง. ส. สมย.
สุคติ : (อิต.) ภูมิอันสัตว์พึงไปดี, ภูมิเป็นที่ไปดี, การไปดี, ภูมิดี, ภูมิเป็นที่ไปด้วยความดี, ที่เป็นที่ไปที่ดี, ที่เป็นที่อยู่ที่ดี, กำเนิดดี, ทางดี, สวรรค์, วิ. สุนฺทรา คติ สุคติ. เป็นสุคฺคติ โดยซ้อน คฺ บ้าง.
อธิคต : (ปุ.) พระอริยะ, พระอริยบุคคล.อธิปุพฺโพ, คมฺคติยํ, โต, มฺโลโป.
กกณ กงฺกณ : (นปุ.) กังกณะ ชื่อเครื่อง ประดับแขนชนิดหนึ่ง, กำไลมือ, กา สทฺ เท, กณปจฺจโย, กณฺ สทฺเท วา, อ, ทฺวิตฺตํ; กณิ คติยํ วา, ยุ, นิคฺคหิตาคโม จ. ส. กงฺกณ.
กงฺคุ : (อิต.) ข้าวฟ่าง, ประยงค์ ชื่อไม้พุ่มชนิด หนึ่ง ใบมีกลิ่นหอม. วิ. โสภณสีสตฺตา คมนียภาวํ คจฺฉตีติ กงฺคุ. คมฺ คติยํ, อุ. แปลง ค เป็น ก มฺ เป็น คฺ นิคคหิตอาคม. โมคคัลลายนพฤติ วิ. กามียตีติ กงฺคุ กมุ อิจฺฉายํ, อุ. เอกักขรโกสฎีกาวิ. เกน คุณาติ สททํ กโรตีติ กงฺคุ. ก ปุพฺโพ, คุ สทฺเท, อุ. ส. กงฺคุ, กงฺคุนี.
กฏ : (ปุ. นปุ.) ไหล่ภูเขา, ลาดภูเขา, ทอง ปลายแขน, กำไลมือ. กฏฺ คติยํ, อ.
กฏจฺฉุ : (ปุ.) จวัก ตวัก ของคำนี้เป็นชื่อของ เครื่องใช้สำหรับตักข้าวหรือแกง ทำด้วย กะลามะพร้าว มีด้ามไม้ยาวคล้ายทัพพี เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าจ่า หรือกระจ่า, ทัพพี, ทรพี, ช้อน, ถ้วย. กฏฺ คติยํ, ฉุ, ทฺวิตฺตํ กฏจฺฉุ ที่มาคู่กับ ทพฺพิ ควรแปล กฏจฺฉุ ว่า ช้อน หรือ ถ้วย.
กฏฺฐ : (นปุ.) ไม้, ตัวไม้, ฟืน. วิ. กาสเต อคฺคินา ทิปฺปเตติ กฏฺฐํ. กาสฺ ทิตฺติยํ, โต, สสฺส โฏ, รสฺโส, ตสฺส โฐ, ตสฺส ฎฺโฐ วา. ถ้าใช้นัย หลังคือ แปลง ต เป็น ฏฺฐ ก็ลบที่สุดธาตุคือ สุ. กสติ ยาติ วินาสตีติ วา กฏฺฐํ. กสฺ คติยํ, โต. กัจฯ ๖๗๒ วิ. กฏิตพฺพํ มทฺทิตพฺพนฺติ กฏฺฐํ. กฏฺ มทฺทเน, โฐ.
กฏุ กฏก : (วิ.) เผ็ด, เผ็ดร้อน, หยาบ, หยาบคาย, ดุ, ดุร้าย, ผิด, ไม่ควร, ไม่ สมควร. กฏฺ คติยํ, อุ. ศัพท์ หลัง ก สกัด แต่อภิฯ และฎีกาอภิฯ ลง ณฺวุ ปัจ แปลง ณวุ เป็น อก แล้ว ฏฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อุ. ส. กฏุ. กฏุ
กณฺฐ : (ปุ.) อวัยวะสำหรับออกเสียง, อวัยวะ สำหรับกล่าว. กณฺ สทฺเท, โฐ. อวัยวะยัง วัตถุมีข้าวเป็นต้น ให้ล่วงลงไป วิ. โอทนา ทีนิ กาเมตีติ กณฺโฐ. กมฺ ปทวิกฺเขเป, โฐ. อวัยวะเป็นที่ตั้งแห่งศีรษะ วิ. กํ ติฏฺฐติ เอตฺถาติ กณฺโฐ. กปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ. อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ. คอ, ลำคอ, ศอ, กัณฐ์, กรรฐ์. ส. กณฺฐ, กรฺณ.
กณิกา : (อิต.) คนทีสอ, ภังคี. กณฺ คติยํ, ณฺวุ, อิอาคโม.