Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: คป , then คบ, คป .

ETipitaka Pali-Thai Dict : คป, 37 found, display 1-37
  1. คป : (วิ.) ไหว, เคลื่อนไหว. กปิ จลเน, อ. แปลง ก เป็น ค แปลง อ ที่ ค เป็น เอ.
  2. คป : (ปุ.) คนผู้รักษาโค, คนเลี้ยงโค.วิ. คาโว ปาตีติ โคโป. โคปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, โณ. อถวา, คาโว ปาเลตีติ โคโป. ปาลฺ รกฺขเณ, กฺวิ.
  3. คป : อิต. หญิงเลี้ยงโคหรือภรรยาของนายโคบาล
  4. กุปฺป : (นปุ.) มูลแร่ (นอกจากทองคำและเงิน). คุปฺ รกฺนขเณ, อ, ทฺวิตฺติ.
  5. คตฺต : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ตัว, รูป (ร่าง กาย). วิ. คตฺฉติ คณฺหาติ วา กุสลากุสล เมเตนาติ คตฺตํ. คมฺ คติยํ, คหฺ อุปาทาเน วา, โต. คุปฺ สํวรเณ วา, โต, อุการสฺส อกาโร, แปลง ต เป็น ตฺต ลบที่สุดธาตุ.
  6. คุตฺติ : (อิต.) การคุ้มครอง, การปกครอง, การเลี้ยงดู, การรักษา, ความคุ้มครอง, ฯลฯ. วิ. โคปยเตติ คุตฺติ. คุปฺ โคปเน, ติ. แปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ปฺ หรือไม่แปลง ติ แปลง มฺ เป็น ตฺ ก็ได้.
  7. คุมฺพ : (ปุ.) กอ, กอไม้, พง, พุ่ม, พุ่มไม้, ซุ้ม ไม้, สุมทุม (ซุ้มไม้ที่ปกคลุมด้วยต้นไม้ และเถาวัลย์) หมู่, พวก, ฝูง, ประชุม, กอง, คณะ, กลุ่มก้อน, กองทหาร, ขบวนทัพ, เสา. คุปฺ รกฺขเณ, โพ, ปสฺส โม. คุมฺพฺ คุมฺพเน วา, อ.
  8. คูถ : (ปุ. นปุ.) อุจจาระ, ขี้, คูถ.คุถฺ กรีสุสฺสคฺเค, อ. คุปฺ โคปเน, วา,โถ,ปฺโลโป. คุ กรีสุสฺสคฺ เค, โถ, ทีโฆ จ.ส.คูถ.
  9. โคจฺฉก : (ปุ.) ช่อ, พวง. วิ. โคปียตีติ โคจฺฉโก, คุปฺ โคปเน, คุธฺ ปริเวธเน, ณฺวุ, ปสฺส ธสฺส วา โฉ, สํโยโค.
  10. โคตฺต โคตฺร : (นปุ.) แซ่, เผ่า, พันธุ์, เหง้า, เหล่า, เหล่ากอ, เชื้อ, เชื้อสาย, สกุล, วงศ์, โคตร. วิ. โค วุจฺจติ อภิธานํ พุทฺธิ จ, เต ตายตีติ โคตฺตํ. ควํ สทฺทํ ตายตีติ วา โคตฺตํ. โคปุพฺโพ, ตา ปาลเน, อ, ตฺสํ โยโค. รูปฯ ๕๕๒ วิ. โคปตีติ โคตฺตํ. คุปฺ รกฺขเณ สํวรเณ วา, โต, ปสฺส โต. กัจฯ ๖๕๖ รูปฯ ๖๕๐ ลง ต, ตฺรณฺ ปัจ.
  11. คป : (ปุ.) คนผู้คุ้มครอง, คนผู้รักษา, คนผู้ เลี้ยง. คุปฺ โคปรกฺขเณสุ, ณฺวุ.
  12. คป : (นปุ.) การคุ้มครอง, การรักษา, ความคุ้มครอง, ความรักษา. คุปฺ โคปนรกฺขเณสุ, โณ, ยุ.
  13. คปฺผ โคปฺผก : (ปุ.) ข้อเท้า, ตาตุ่ม วิ. โคปิยตีติ โคปฺโผ โคปฺผโก วา คุปฺ รกฺขเณ, โผ ศัพท์ หลัง ก สกัด.
  14. ชิคุจฺฉ : (วิ.) ติเตียน, เกลียด, น่าเกียด, ชัง, น่า ชัง. คุปฺ กุจฺฉเน, โฉ. เทวภาวะ คุ แปลง คุ เป็น ชุ แปลง อุ เป็น อิ แปลง ปฺ เป็น จฺ.
  15. หตฺถิโคปก หตถิป หตฺถิบาล : (ปุ.) คนผู้รักษาช้าง, คนเลี้ยงช้าง, ควาญช้าง, นายควาญช้าง. คุปฺ รกฺขเณ, โณ, สตฺเถ โก. ปา ปาลฺ วา รกฺขเณ, โณ.
  16. ทีปรุกฺข : (ปุ.) คบ ชื่อของใช้สำหรับจุดไฟให้สว่าง, คบไฟ, โคมมีด้าม, ประทีปมีด้าม.
  17. อุกฺกา : (อิต.) คบ (ของใช้สำหรับจุดไฟให้ สว่าง ทำด้วยของต่าง ๆ เช่น กาบมะพร้าว ชุบน้ำมันยาง เป็นต้น), คบเพลิง, คบไฟ, เบ้า, เตาไฟของช่างโลหะ, เตาถ่านสำหรับ หลอมโลหะ, เตา, เตาถ่าน, เตาตีเหล็ก, โคม, ประทีป, ตะเกียง, กำลังแห่งลม, ความเร็วของลม. วิ. อุสตีติ อุกฺกา. อุสุ ทาเห, โก. ส. อุกฺกา.
  18. ติณุกฺกา : (อิต.) คบเพลิงสำเร็จด้วยหญ้า, คบหญ้า.
  19. ทณฺฑกทีปิกา : อิต. ประทีปด้าม, คบเพลิง, ไต้
  20. ทสฺสี : (วิ.) ผู้เห้น, ผู้เห็นโดยปกติ, ผู้มีอันเห็นเป็นปกติ, ผู้มีปกติเห็น. ทิสฺ เปกฺขเณ, ณี.ผู้คบ. ฯลฯ, ผู้ถือเอา, ฯลฯ, ผู้ระวัง, ฯลฯ, ผู้ป้องกัน, ฯลฯ, ทิสฺ อาทานสํวรเณสุ.
  21. ทฬฺหมิตฺต : (ปุ.) เพื่อนผู้มั่นคง, เพื่อนคบกันมั่นคง.
  22. ทีปิกา : (อิต.) คบเพลิง, ตะเกียง, ทีปิกา ชื่อ คัมภีร์หนังสือ. ทิปฺ ทิตฺติยํ, อิโก, ทีโฆ. ฎีกาอภิฯ เป็น ทีปฺ ธาตุ.
  23. นิเสวติ : ก. ย่อมคบ, ย่อมติดตาม
  24. นิเสวน : นป. การคบ, การติดตาม, การปฏิบัติ
  25. นิเสวิต : กิต. คบ, ติดตาม, ผ่อนผัน, ปล่อยตัว
  26. นิหีนเสวี : ค. ผู้เสพของเลว, ผู้คบคนเลว
  27. ปรทารกมฺม : (นปุ.) กรรมคือการประพฤติ ล่วงซึ่งภรรยาของบุคคลอื่น, การประพฤติ ล่วงภรรยาของคนอื่น, การคบหาภรรยา ของผู้อื่น. คบหา หมายถึง การคบในทาง ชู้สาว.
  28. ภชก : (วิ.) ผู้คบ, ผู้เสพ, ผู้รับใช้, ผู้คุ้นเคย. ภชฺ เสวายํ วิสฺสเส จ. ณฺวุ.
  29. ภชติ : ก. คบ, ส้องเสพ, สมาคม, คบหา
  30. ภชน : (นปุ.) การคบ, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
  31. สมฺภตฺต : (ปุ.) เพื่อนคบกันมั่นคง. วิ. สพฺพกาลํ ภชตีติ สมฺภตฺโต. ภชฺ เสวายํ โต. อถวา, สกาโร พนฺธเว, โส วิย พนฺธโว วิย อญฺญมญฺญํ วิสาสวเสน ภชตีติ สมฺภตฺโต.
  32. สมฺภตฺติ : (อิต.) การคบ, การสมาคม, ติ ปัจ.
  33. สมฺโภค : (ปุ.) การกินด้วยกัน, การบริโภคด้วยกัน, การกินร่วม, การร่วมกิน, การร่วมบริโภค, การคบกัน. วิ. สห ภุญฺชนํ อนุภวนํ สมฺโภโค. สหปุพฺโพ, ภุชฺ อชฺโฌหรเณ, โณ, ชสฺส โค. ส. สมฺโภค.
  34. อลสาชีว : ค. ผู้สมควรแก่การคบเพื่อน
  35. อุกฺกาธาร : ป. ผู้ถือคบเพลิง
  36. อุปสเสว : (ปุ.) การเข้าไปคบ, การเข้าไปคบ หา, การเข้าไปเกียวข้อง. อุป สํ ปุพฺโพ, เสวฺ เสวเน, อ.
  37. โอสารณา : (อิต.) โอสารณา ชื่อของวินัยกรรม อันสงฆ์ทำคือ : การเรียก (รับ) สามเณรผู้กล่าวติเตียนพระรัตนตรัย ถูกสงฆ์นาสนะผู้กลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว ให้เข้าหมู่ได้ โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีอปโลกนกรรม. การเรียกอุปสัมปทาเปกขะ ซึ่งได้รับการไล่เรียง (ซักซ้อม) อันตรายิกธรรม ที่นอกเขตประชุมสงฆ์ (ห่างจากสงฆ์) ๑๒ ศอกแล้ว ให้เข้าหมู่สงฆ์ได้โอสาร- ณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติกรรม. การหงายบาตรแก่คฤหัสถ์ผู้ประพฤติให้ร้ายแก่พระศาสดา (ศาสนา)ถูกสงฆ์คว่ำบาตรคือไม่คบ ไม่รับกิจนิมนต์ ไม่รับบิณฑบาต ภายหลังรู้สึกตนกลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติทุติยกรรม. ๔. การยกโทษแก่ภิกษุผู้ประพฤติมิชอบ ซึ่งถูกสงฆ์ลงโทษด้วยตัชชนียกรรมผู้ กลับประพฤติดีแล้ว โอสารณานี้สงฆ์ ทำด้วยวิธีญัตติจตุตถกรรม.
  38. [1-37]

(0.0154 sec)