อนุสาสก : (วิ.) ผู้ตามสอน, ผู้พร่ำสอน, ผู้ปก-ครอง.
อุปาทินฺนก : (วิ.) อัน...ถือเอา, อัน...ครอง. อุป อา ปุพฺโพ, ทา อาทาเน, โต, สกตฺเถ โก.
กญฺจุก : (ปุ.) ผ้า, ผ้าโพกหัว, หมวก, เสื้อ, เสื้อกั๊ก, เกราะ, หีบ, ซอง, ฝักมีด, เครื่อง ปกคลุม, คราบงู. กจฺ พนฺธเน, อุโก, นิคฺคหิตาคโม.
กาเรติ : ก. ให้ทำ; ขึ้นครอง (ราชย์)
กาสาวิย : ค. ผู้ครองผ้ากาสาวพัสตร์, ผู้นุ่งเหลืองห่มเหลือง
คหฏฐ : ป. คฤหัสถ์, ผู้ครองเรือน
คหฏฺฐ : (ปุ.) คนผู้ดำรงอยู่ในเรือน, คนครอง เรือน, คหัฐ คฤหัสถ์ (คนครองเรือน ไม่ ใช่นักบวช). วิ. เคเห ติฏฺฐตีติ คหฏฺโฐ คนผู้ดำรงอยู่ในป่าคือกิเลส, คนผู้ดำรงอยู่ ในเรือนด้วยสามารถแห่งความกำหนัด ในกามคุณห้า วิ. เคเห ปญฺจกามคุเณ ราควเสน ติฏฺฐตีติ คหฏฺโฐ. คหปุพฺโพ ฐา คตินิวุตฺติยํ, กฺวิ.
คิหิ : (ปุ.) คนมีเรือน, คนครองเรือน, คนมิใช่ นักบวช, คฤหัสถ์. วิ. คห เมตสฺสาตฺถีติ คิหิ. คห ศัพท์ อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. รัสสะ อี เป็น อิ และ แปลง อ ที่ ค เป็น อิ หรือ ตั้ง เคห ศัพท์ เอา เอ เป็น อิ เป็น คิหี โดยไม่รัสสะบ้าง.
คิหิ, คิหี : ป. คฤหัสถ์, ผู้ครองเรือน
คิหิพนฺธน : นป. พันธะของผู้ครองเรือน, เครื่องผูกมัดของคฤหัสถ์
คิหิภูต : ค. เป็นคฤหัสถ์, เป็นผู้ครองเรือน
คิหิโภค : ป. โภคะของคฤหัสถ์, ทรัพย์สมบัติของผู้ครองเรือน
ฆราวาส : (ปุ.) การอยู่ครองซึ่งเรือน, คนอยู่ ครอบครองซึ่งเรือน, คนอยู่ครองเรือน, คนครองเรือน, ฆราวาส(คนที่มิใช่นักบวช)
ฆราวาสพนฺธน : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องผูกคือ การอยู่ครอบครองซึ่งเรือน เป็น อว.ตัป มี ทุ.ตัป. เป็นภายใน.
จตุปจฺจย : (ปุ.) เครื่องอาศัยเป็นไปสี่, เครื่อง อาศัยเลี้ยงชีวิตสี่อย่าง, ปัจจัยสี่. ปัจจัยสี่ คือจีวร (ผ้า) บิณฑบาต ( ข้าวปลาอาหาร ) เสนาสนะ (ที่อยู่อาศัย) และคิลานเภสัช (ยารักษาโรค).
ฉตฺตุสฺสาปน : นป. การยกเศวตฉัตร คือ การขึ้นครองราชย์
ฏก ฏงฺก : (ปุ.) สิ่ว, เหล็กสกัดสิลา, เครื่องมือ ทำลายหิน, เครื่องมือช่างทำหิน, เครื่อง มือขุดดิน, ขวาน, ขวานเล็กๆ, ดาบ. ฏํกฺ วิทารเณ, อ. แปลง ก เป็น ค เป็น ฏงฺค บ้าง. แปลว่า ความโกรธบ้าง.
เถยฺยสวาสก : (ปุ.) คนลักเพศ. คนลักเพศ คือคนที่ปลอมบวชเป็นภิกษุหรือสามเณร หรือคนที่บวชเอาเอง หรือภิกษุสามเณร ที่ทำผิดวินัยถึงขาดจากความเป็นบรรชิต แต่ยังครองผ้ากาสาวพัตรอยู่.
นครคุตฺติก : ป. เจ้าเมือง, ผู้ครองเมือง, นายกเทศมนตรี
ปเทสราช : ป. พระราชาในประเทศ, พระเจ้าแผ่นดินผู้ครองเฉพาะหรือดินแดนบางส่วน
ปพฺพชติ : ก. ออกไป, ออกบวช, เว้นทั่ว (จากชีวิตการครองเรือน), บวช
ปริวสติ : ก. อยู่อาศัย, ครอบครอง
ปุพฺพเทว : (ปุ.) เทวดาก่อน, เทพก่อน, ปุพพเทวะ ชื่อของอสูรชื่อ ๑ ใน ๔ ชื่อ, อสูร (ครองดาวดึงส์อยู่ก่อน).
พฺราหฺมณคหปติก : ป. พราหมณ์ผู้ครองเรือน
ภณฺฑ : (นปุ.) ราคาทรัพย์, ต้นทุน, ทรัพย์อันเป็นต้นทุน, สมบัติ, ทรัพย์สมบัติ, เครื่อง (สิ่ง สิ่งของ), สิ่งของ, ข้าวของ, ของใช้, เครื่องใช้, สิ่งของเครื่องใช้, เครื่อง ใช้สอย, เครื่องทัพพสัม ภาระ, เครื่องประดับ, เครื่องแต่งตัว, ลอม (ของที่รวมตะล่อมเข้าเป็นกอง), ทรัพย์อันบุคคลพึงห่อ, สินค้า. ภฑิ ภณฺฑตฺเถ, โก, นิคฺคหิตาคโม, กโลโป.
มนฺทิรปาล : (ปุ.) การปกครองในเรือนหลวง, การปก ครองในพระราชฐาน.
ยกฺขคาห : ป. การจับเอาของยักษ์, การครอบครองของยักษ์
รชฺชกาล : (ปุ.) เวลาแห่งความเป็นพระราชา, รัชกาล คือ ระยะเวลาครองราชสมบัติของพระราชาองค์หนึ่งๆ.
วิภู : ๑. ป. ผู้เป็นแจ้ง, ผู้ครอง;
๒. ค.แข็งแรง, มีอำนาจ
สวิญฺญาณก : (วิ.) เป็นไปกับด้วยวิญาณ, มีวิญญาณ, มีใจ, มีใจครอง.
สิกฺขาสาชีว : (ปุ.) การศึกษารและการครองชีพ.
สุทฺโธทน : (ปุ.) สุทโธทนะ พระนามของเจ้าศากยะผู้ครองกรุงกบิลพัสดุ์ ซึ่งเป็นพระราชบิดาของเจ้าชายสิทธัตถะ.
อคาริก : (ปุ.) คนผู้ประกอบในเรือน, คนอยู่ในเรือน, คนครองเรือน, ฆราวาส, คฤหัสถ์, ชาวบ้าน.
อชฺฌภุ : ก. ชนะแล้ว, ครอบครองแล้ว
อชฺฌาวสติ : ก. อยู่ครอบครอง, อยู่อาศัย, อยู่ครองเรือน
อชฺฌาวสน : (นปุ.) การอยู่, การอยู่ครอบครองการอยู่ปกครอง.ยุปัจ.
อชฺโฌภวติ : ก. ๑. ครอบครอง, ชนะ ;
๒. ทำลาย
อฏฺฐรณ : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องลาด, เครื่อง ลาดทำด้วยขนสัตว์ (สำหรับปูพื้น), เครื่องลาด, เครื่องปู. อาปุพฺโพ, ถรฺ สนฺถรเณ, ยุ, รสฺโส, ถสฺส โฐ, ฏฺสํโยโค.
อธิภวติ : ก. ครอบครอง, ครอบงำ
อธิมุจฺจติ : ก. ๑. น้อมใจไป, นึกน้อม ;
๒. สิง, เข้าสิง, ครอบครอง
อธิวตฺตติ : ก. ครอบครอง, ดำเนินไป
อนฺวาวิสติ : ก.เข้าไปอาศัย, สิง, ครอบครอง, เยี่ยม
อนฺวาสนฺน : กิต. ยึดครอง, ครอบครอง, ถูกกระทบแล้ว
อนาคาริก : (วิ.) ผู้ไม่ประกอบในเรือน, ผู้ไม่อยู่ครองเรือน, ผู้ไม่ครองเรือน.วิ.อคาเรนิยุตฺโตนอตฺถีติอนาคาริโก.อิกปัจ.ตทัสสัตถิตัท.
อนาคาริย : (ปุ.) คนไม่ครองเรือน, ฯลฯ.แปลงกเป็นยหรืออิย ปัจ.ชาตาทิตัท.
อนาณตฺติก : (วิ.) ไม่ต้องเพราะสั่ง, ไม่ต้องเพราะบังคับ.สิกขาบทใดของบรรพชิตหรือของผู้ครองเรือนใช้ให้ผู้อื่นทำไม่ต้องอาบัติ หรือศีลไม่ขาด, ทำเองจึงต้องอาบัติหรือศีลจึงขาด สิกขาบทนั้นเป็นอณาถณัต-ติกะ.เช่นสิกขาบทเกี่ยวกับการประพฤติผิดในกาม.
อนุปาทินฺนกสงฺขาร : (ปุ.) สังขารมิใช่อันจิตเข้าไปถือเอาแล้ว, สังขารที่ไม่มีใจครอง.
อปริคฺคหิต : ค. ไม่ถูกสิงแล้ว, ไม่ถูกครอบครองแล้ว
อภิฐาน : (นปุ.) ฐานยิ่ง, ฐานะอย่างหนัก, อภิฐานะชื่อของความผิดสถานหนักมี๖อย่างคืออนันตริยกรรม๕ การปฏิญญาณรับถือศาสนาอื่นในขณะที่ครองเพศบรรพ-ชิตเป็นข้อที่ ๖.
อภิภวนีย : ค. พึงครอบครอง, พึงชนะ