ภิงฺคราช : (ปุ.) ตองแตก ชื่อต้นไม้ เถาใบเป็นสองแฉก. วิ. ภมตีติ ภิงฺโค วุจฺจติ ภมโร. ตพฺพณฺรํ กตฺวา เตสํ รญฺเชตีติ ภิงฺคราโช.
สมย : (ปุ.) ขณะ, ครั้ง, ครา, คราว, หน, กาล, เวลา, ฤดู, โอกาส. วิ. สํ ปุนปฺปุนํ เอติ อยติ วาติ สมโย. สํปุพฺโพ, อิ อยฺ วา คติยํ, อ. การได้, การถึง, การเห็น, ความเห็น, ลัทธิ, มติ, ทิฏฐิ, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงแห่งเหตุ, การณะ, เหตุการประชุม, หมวด, หมู่, กอง, คณะ. วิ. สมนฺตโต อยนํ คติ สมโย. การแทงตลอด, ฯลฯ. วิ. สํสุฎชุ สมฺมา วา อวิปริตากาเรน อยิตพฺโพ ญาตพฺโพติ สมโย. การละ, การสละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง. ส. สมย.
คร : (นปุ.) พิษ เช่นพิษงู. ครฺ นิครเณ, อ. เป็น ปุ. ก็มี.
ขคปติ ขคราช : (ปุ.) นกผู้เป็นใหญ่, นกผู้ราชา, ครุฑ (นกผู้เป็นพาหนะของพระวิษณุ).
คคฺครา : อิต. ชื่อทะเลสาบ
คคฺครายติ : ก. ร้อง, คำราม, แผดเสียง, คราง
คิรา : (อิต.) สัททชาติอันบุคคลพึงเปล่ง, วาจา อันบุคคลพึงเปล่ง. วิ. เคตพฺพาติ คิรา. เสียง ที่เปล่ง, ถ้อยคำ, วาจา, คำพูด. เค สทฺเท, อิโร
อคฺคราช : (ปุ.) พระราชาผู้เลิศ, พระอัครราชา.
อคฺคราชฑูต : (ปุ.) อัครราชฑูต ชื่อผู้แทนพระเจ้าแผ่นดินผู้เลิศ ซึ่งประจำชั่วคราวหรือ ประจำอยู่ในสำนักแห่งรัฐบาลอื่น มีฐานะสูงกว่าราชฑูต.
องฺคราค : ป. การทาตัว, น้ำมันทาตัว
กฑฺฑติ : ก. ดึง, ฉุด, คร่า, ลาก
กสฺสติ : ก. คร่า, ฉุด, ลาก, ดึง
ทุชฺชร : (วิ.) คราคร่ายาก, ให้คร่ำคร่ายาก.
นาครตา : (อิต.) ประชุมแห่งชาวเมือง วิ. นาครานํ สมูโห นาครตา. ความเป็นแห่ง ชาวเมือง วิ. นาครานํ ภาโว นาครตา.
นิกฺกฑฺฒติ : ก. ฉุด, คร่า, ลาก, ดึง, ไล่หนี, ขับไล่
อวหรติ : ก. ดึง, คร่า, ฉุด, ลาก
อากฑฺฒติ : ก. ฉุด, คร่า, ดึง, ลาก
อากฑฺฒน : (วิ.) ฉุด, คร่า, รั้ง, ลาก.อาปุพฺโพ, กฑฺฒฺอากฑฺฒเน, ยุ.
อากสฺสติ : ก. ฉุด, คร่า, ดึง, รั้ง, ลาก
อุปราค : (ปุ.) พระคราธสูรย์และจันทร์, พระ เคราะห์. ส. อุปราค.
ครหก : ค. ผู้ให้ร้าย, ผู้ใส่โทษ, ผู้ติเตียน
คิร : (ปุ.) ภูเขา. คิรฺ นิคฺคีรเณ, อ.
คิริ : (ปุ.) ภูเขาชื่อ คิริ, ภูเขา คิริ, ภูเขา. วิ. คิรติ ปสวติ โอสธาทโยติ คิริ. คิรฺ นิคฺคีรเณ, อิ. เวสฯ วิ. คิรติ สทฺทํ กโรตีติ คิริ.
ครหณ ครหน : (นปุ.) ความเกลียด, ฯลฯ, การติเตียน, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
ครุ : (วิ.) ใหญ่, มาก, หนัก, สูง, สูงสุด, ให้ คร่ำคร่ายาก. ลง ก สกัด เป็น ครุก บ้าง.
คุรุ : (วิ.) ใหญ่, หนัก, สูง, สูงสุด.
โคร : (วิ.) ขาว, เผือก. วิ. คูยเตติ โคโร. คุ สทฺเท, โร.
ปภงฺคุณ, - คุร : ค. แตกสลาย, ผุพัง, ย่อยยับ, เปื่อยเน่า, เปื่อยเปราะ
ปาปครหี : ค. ผู้ติเตียนบาป, ผู้เห็นบาปเป็นสิ่งน่าติเตียน
พหินคร : นป. นอกเมือง
อริยครหี : ค. ผู้ติเตียนพระอริยะ
คารยฺห : (วิ.) ต่ำช้า, เลว, เลวทราม, น่าเกลียด, น่าชัง, น่าติเตียน, อัน...พึงเกีลยด, อัน...พึง ติเตียน. วิ. ครหิตพฺโพติ คารโยฺห. รูปฯ ๕๔๐ วิ. อครยฺหิตฺถ ครหียติ ครหียิสฺสตีติ คารโยฺห คารยฺหา คารยฺหํ. ครหฺ กุจฺฉน นินฺทาสุ, โณฺย. แปลง คร เป็น คาร ลบ ณฺ แปร ย ไว้หน้า ห.
กเมติ : ก. ปรารถนา, อยาก, ใคร่
กาม : (วิ.) ใคร่, ยินดี, รัก รักใคร่, ชอบใจ, พอใจ, หวัง, ต้องการ, มุ่ง, อยากได้, ปรารถนา.
ขณ : (ปุ.) ครู่, ครั้ง, คราว, สมัย, เมื่อ (ครั้ง คราว), นาที, ขณะ, กษณะ. วิ. สตฺตานํ อายุ ขียติ หายติ เอตฺถ กาเลติ ขโณ. ขี ขเย, ยุ. ขณฺ หึสายํ วา, อ. ส. กฺษณ.
คพฺพ : (ปุ.) ความหยิ่ง, ความจองหอง, ความไว้ตัว, ความถือตัว. วิ. คพฺเพติ น สํกุจตีติ คพฺโพ. คพฺพฺ มาเน, อ. ครติ อญฺเญ อเนน ปีเฬตีติ วา คพฺโพ. ครฺ เสจเน, โพ.
คพฺภ : (ปุ.) ท้อง ชื่อส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่ลงไปจนถึงบริเวณต้นขา มี สะดืออยู่กลางมีกระเพาะและใส้อยู่ภายใน เรียกได้ทั้งของผู้หญิงและของผู้ชาย, ครรภ์ เรียกเฉพาะของผู้หญิง. คุ สทฺเท, อโภ, อุสฺส อตฺตํ, ทฺวิตฺตํ (แปลง อุ เป็น อ แปลง ภ เป็น พฺภ). ครฺ วา เสจเน, อโภ. แปลง รฺ เป็น พฺ หรือตั้ง คพฺภฺ ธารเณ, อ.
คพฺภร : (นปุ.) ถ้ำ, ซอกเขา, คูหา. คพฺภฺ ธาร- เณ, อโร. ครฺ เสจเน วา, ภโร, รสฺส พตฺตํ.
ครฬ : (นปุ.) พิษ (เช่นพิษงู) วิ. ครตีติ ครฬํ. ครฺ อทเน, อโฬ. คริติ ชีวนนฺติ วา ครฬํ. คิรฺ นิคิรเณ, อโฬ, อิสฺส อตฺตํ.
ครุวาร : (ปุ.) วันครู, วันพฤหัสบดี. ส. วฺฤหสฺปติ. พระนารายณ์ วิ. ครํ วิสํ หนฺตีติ ครุโฬ. ครปุพฺโพ, หา จาเค, โณ, รการสฺส รุ, หสฺส ฬตฺตํ. ครํ ภารํ ลาตีติ ครุโฬ. ครุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, ลสฺส ฬตฺตํ. นกตระไน ก็แปล.
คโฬจี : (อิต.) เถาเน่า, เถาหัวด้าน, เขาหัวด้วน, บอระเพ็ด, กระโพงโหม. คฬฺ รกฺขเณ, ครฺ เสจเน วา, โอโจ, อิตฺถิยํ. อี. ถ้าตั้ง ครฺ แปลง รฺ เป็น ฬฺ.
คิมฺห คิมฺหาน คิมฺหนฺต คิมฺหนฺตอุตุ : (ปุ.) ฤดูร้อน, หน้าร้อน. วิ. คิรติปีฬยตีติ คิโมฺห. คิรฺ นิปฺปีฬเน, โม, รสฺส โห, วณฺณวิปริ- ยาโย. คจฺฉตีติ วา คิโมฺห. คมฺ คติยํ, อ, อสฺสิตฺตํ, มสฺส โห, นิคฺคหิตาคโม. คิมฺหาน ตั้ง คิรฺ ธาตุ มาน ปัจ. แปลง รฺ เป็น ห แล้ว เปลี่ยนอักษร.
ติมิงฺคล : (ปุ.) ติมิงคละ ชื่อปลาใหญ่, ปลา ติมิงคละ. วิ. ติมิโน คโล ติมิงฺคโล. ติมํ คิลตีติ วา ติมิงฺคโล. ติมิปุพฺโพ , คิลฺ อทเน, อ, อิสฺสตฺตํ คิรฺ นิคิรเน, วา, รสฺส ลตฺตํ. ส. ติมฺคล.
นิครณ นิคิรณ : (วิ.) คาย, ไหลออก, อาเจียน, รด, ราด, โปรย. นิปุพฺโพ, ครฺ วมนเสจเนสุ, ยุ. ศัพท์หลังแปลงเป็น อ เป็น อิ.
ปาฏงฺกี : อิต. เก้าอี้, แคร่, วอ
ปีฐ : นป. ตั่ง, ที่นั่ง, แคร่, ร้าน, ที่วางของขาย
มญฺจ มญฺจก : (ปุ.) แท่น, แคร่, เตียง, ที่นอน. วิ. มญฺจติ ปุคฺคลํ ธาเรตีติ มญฺโจ มญฺจโก วา. มจิ ธารเณ, อ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
มหาสมย : (ปุ.) ครั้งใหญ่, คราวใหญ่, ครวาประชุมใหญ่, มหาสมัย.
มุคฺคร : (นปุ.) ค้อน, ไม้ค้อน, ตะบอง. วิ. มุทํ คีรตีติ มุคฺคโร. มุทปุพฺโพ, คิรฺ นิคฺคิรเณ, อ. แปลง ท เป็น ค อิ เป็น อ. มุจฺ โมจเน วา, อโร. แปลง จฺ เป็น คฺ ซ้อน คฺ.