ครุ : (วิ.) ใหญ่, มาก, หนัก, สูง, สูงสุด, ให้ คร่ำคร่ายาก. ลง ก สกัด เป็น ครุก บ้าง.
ครุคพฺภา : (อิต.) หญิงมีครรภ์หนัก, หญิงมี ครรภ์แก่ (ท้องแก่ใกล้คลอด). วิ. ครุ คพฺโภ เอติสฺสาติ ครุคพฺภา.
ครุตฺต : นป., ครุตฺตา อิต. ความเป็นครู, ความเป็นผู้ควรเคารพ, ความเป็นผู้หนัก, ความเป็นของหนัก
ครุกมฺม ครุกกมฺม : (นปุ.) กรรมหนัก. กรรม หนักฝ่ายกุศลได้สมาบัติ ๘ ฝ่ายอกุศล ได้แก่ อนันตริยกรรม ๕. วิ. กมฺมนตเรหิ ปฏิพาหิตํ อสกฺกุเณยฺยตฺตา ครํ ครุกํ วา กมฺมนฺติ ครุกมฺมํ ครุกกมฺมํ วา.
ครุกาปตฺติ : (อิต.) อาบัติหนัก, ครุกาบัติ ได้แก่ ปาราชิก ๔ และสังฆาทิเสส ๑๓.
ครุธมฺม : (ปุ.) ธรรมที่ควรเคารพ, ครุธรรม ธรรมหรือสิกขาบท ที่ล่วงละเมิดมิได้.
ครุฏฐานิย : ค. ผู้ตั้งอยู่ในตำแหน่งครู, ผู้ควรแก่การเคารพนับถือและยกย่อง
ครุกาตพฺพ : ค. ซึ่งควรแก่การยกย่อง, ซึ่งควรแก่การเคารพนับถือ
ครุการ : ป. การเคารพ, การยกย่อง
ครุภณฺฑ : (นปุ.) ของหนัก, ของมีค่ามาก, ของใช้ทน, ครุภัณฑ์.
ครุฬ : ป. ครุฑ, นกกระไน, นกหัวขวาน
กาฬาครุ : (นปุ.) กฤษณาดำ วิ. กาฬํ อครุ กาฬาครุ.
กูปามฺพุพาหณ : นป. ถัง, ครุ
ฆฏียนฺต : (นปุ.) ถัง, ถังมีสาย, ครุ, โพง (ชง โลง), ชงโลง, แครง ชื่อภาชนะสานสำ- หรับตักน้ำรดต้นไม้ รูปร่างคล้าย หอยแครง มีด้ามยาว. ฆฏีปุพฺโพ, ยา คติปาปุณเนสุ, อนฺโต อโต วา.
อุคฺฆาฏน : นป. เครื่องปิด, ครุ, ถัง
คร : (นปุ.) พิษ เช่นพิษงู. ครฺ นิครเณ, อ. เป็น ปุ. ก็มี.
กมฺมครุ : ค. ผู้หนักในกรรม, ผู้เคร่งในการงาน
โกธครุ : ค. ผู้หนักในความโกรธ, ผู้มักโกรธ
โทสครุ : ค. ผู้มีโทสะหนัก, ผู้มากด้วยโทสะ, ผู้มักโกรธ
ธมฺมครุ : ค. ผู้เคารพธรรม, ผู้หนักในธรรม
ธมฺมครุ ธมฺมครุก : (วิ.) เคารพซึ่งธรรม, เคารพในธรรม, หนักในธรรม, มีธรรม เป็นที่เคารพ.
โลกครุ : ป. พระพุทธเจ้า
อคฺครุ : (นปุ.) กำยาน, ชื่อวัตถุเครื่องหอม ซี่งเกิดจากชันหรือยางที่ออกจากเปลือกของต้นไม้บางชนิด.
อครุ : (ปุ.) ความไม่หนักใจ, ความเบาใจ.
อครุ อคลุ อคฬุ : (นปุ.) ความไม่หนักใจ, ความเบาใจ.
อุตฺตมครุห อุตฺตมงฺครุห : (ปุ.) ผม (ขนที่ งอกบนศรีษะ). อุตฺตมํคปุพฺโพ, รุหฺ ปาตุภาเว, อ.
อุตฺตมงฺครุห : นป. ผม
กาพฺย : (นปุ.) คำของกวี, กาพย์ ชื่อของคำ ร้อยกรองทั่วไป. กาพย์ ไทยใช้เป็นชื่อของ คำร้อยกรองชนิดหนึ่งคล้ายฉันท์ แต่ไม่มี บังคับ ครุ ลหุ เช่นกาพย์สุรางคนางค์ เป็นต้น. กุ สทฺเท, โณฺย. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว ลบ อ ที่ ว เหลือ เป็น วฺ แล้วลบ ณฺ ของ ปัจ. ส. กาวฺย กาพฺย.
กูปามฺพุพฺพาหณ กูปามฺพุพฺพาหน : (นปุ.) วัตถุสำหรับตักน้ำขึ้นจากบ่อ, ถัง, ครุ. วิ. กูปโต อมฺพุโน อุพฺพาหณํ อุทฺธาหรณํ กูปามฺพุพฺพาหณํ.
ฉนฺท : (ปุ.) สภาพผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความตั้ง ใจ, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความปรา- รถนา, ความต้องการ, ความอยาก, ความอยากได้, ความมุ่งหมาย, ความยินดี, ความรัก, ความรักใคร่, ความสมัคร, ความสมัครใจ, ความเต็มใจ, ความอยู่ในอำนาจ, อัธยาศัย, ตัณหา, พระเวท. ฉนฺทฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ฉนฺท. ฉนฺท ฉันท์ ชื่อคำประพันธ์อย่าง ๑ มีหลาย ชื่อ มีหลักการวางคำ ครุ ลหุ และจำนวน คำแต่ละบาทต่างๆ กัน วิ. วชฺชํ ฉาทยตีติ ฉนฺทํ. ฉทฺ สํวรเณ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ส. ฉนฺทสฺ.
ครุวาร : (ปุ.) วันครู, วันพฤหัสบดี. ส. วฺฤหสฺปติ. พระนารายณ์ วิ. ครํ วิสํ หนฺตีติ ครุโฬ. ครปุพฺโพ, หา จาเค, โณ, รการสฺส รุ, หสฺส ฬตฺตํ. ครํ ภารํ ลาตีติ ครุโฬ. ครุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, ลสฺส ฬตฺตํ. นกตระไน ก็แปล.
กพฺพ : (นปุ.) กาพย์ ชื่อคำของกวี กลอน โคลง ฉันท์เป็นต้น. ไทยใช้หมายถึงคำประพันธ์ ชนิดหนึ่ง คล้ายฉันท์ แต่ไม่บังคับครุ, ลหุ. กุ สทฺเท, โณ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ. ส. กาวฺย
คารว : (ปุ.) การยกไว้เป็นของสูง, การยกไว้ในเบื้องสูง, การนับถือ, การนบนอบ, การเคารพ, ความนับถือ, ฯลฯ. วิ. ครุโนภาโว คารโว (ความเป็นแห่งผู้หนัก). ณ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว. ทีฆะ อ ที่ ค เป็น อา, รูปฯ ๓๗๒ ว่า แปลง อุ เป็น อว. ส. เคารว.
อคลู : (ปุ.) กฤษณา, กฤษณาสามัญ, ไม้กฤษณา. ลหุนามกตฺตาอครุ. แปลง ร เป็น ล, ฬ. ศัพท์หลังทีฆะ.
อมฺพุพาหน : (นปุ.) ถัง, ครุชื่อภาชนะสานรูปกลม ๆ ยาชันสำหรับตักน้ำ.
อุคฺฆาฏน อุคฺฆาตน : (นปุ.) ครุ, ถัง, ระหัด, คันโพง. วิ. อุทฺธํ ฆฏติ อุทกมิติ อุคฺฆาฏนํ อุคฺฆาตนํ วา. อุทฺธํปุพฺโพ, ฆฏฺ สงฺฆาต- ฆฏเนสุ, ยุ.
ครหก : ค. ผู้ให้ร้าย, ผู้ใส่โทษ, ผู้ติเตียน
คิร : (ปุ.) ภูเขา. คิรฺ นิคฺคีรเณ, อ.
คิริ : (ปุ.) ภูเขาชื่อ คิริ, ภูเขา คิริ, ภูเขา. วิ. คิรติ ปสวติ โอสธาทโยติ คิริ. คิรฺ นิคฺคีรเณ, อิ. เวสฯ วิ. คิรติ สทฺทํ กโรตีติ คิริ.
ทสฺเสตุ : ป. บุคคลผู้แสดง, ผู้ชี้, ผู้แนะนำ, ผู้สอน, ครู
สิกฺขาปก, สิกฺขาปนก : ค. ผู้ให้การศึกษา, ครู
ครหณ ครหน : (นปุ.) ความเกลียด, ฯลฯ, การติเตียน, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
คุรุ : (วิ.) ใหญ่, หนัก, สูง, สูงสุด.
โคร : (วิ.) ขาว, เผือก. วิ. คูยเตติ โคโร. คุ สทฺเท, โร.
ปภงฺคุณ, - คุร : ค. แตกสลาย, ผุพัง, ย่อยยับ, เปื่อยเน่า, เปื่อยเปราะ
ปาปครหี : ค. ผู้ติเตียนบาป, ผู้เห็นบาปเป็นสิ่งน่าติเตียน
พหินคร : นป. นอกเมือง