Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ครู่ , then คร, ครุ่, ครู่ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ครู่, 45 found, display 1-45
  1. คร : (นปุ.) พิษ เช่นพิษงู. ครฺ นิครเณ, อ. เป็น ปุ. ก็มี.
  2. มุหุตฺต : (ปุ.) กาลขณะหนึ่ง, กาลครู่หนึ่ง, เวลาขณะหนึ่ง, เวลาครู่หนึ่ง, ครู่ (ประเดี๋ยวเดียว), ครู่หนึ่ง. หุจฺฉฺ โกฏิเลฺยฺ, โต. มุอาคมต้นธาตุ ลบ จฺฉฺ แปลง ต เป็น ตฺต.
  3. ขณ : (ปุ.) ครู่, ครั้ง, คราว, สมัย, เมื่อ (ครั้ง คราว), นาที, ขณะ, กษณะ. วิ. สตฺตานํ อายุ ขียติ หายติ เอตฺถ กาเลติ ขโณ. ขี ขเย, ยุ. ขณฺ หึสายํ วา, อ. ส. กฺษณ.
  4. ขณมุหุตฺต : (ปุ.) ขณะมุหุต สิบมุหุตตะ เป็น ขณมุหุตตะ, ขณะครู่หนึ่ง. วิ ขโณ จ โส มุหุตโต จาติ ขณมุหุตฺโต.
  5. ขณิกตฺต : นป. ความมีเพียงชั่วครู่ชั่วยาม; ความหายไป
  6. ขเณน : ก. วิ. ชั่วขณะ, ชั่วครู่
  7. ตมุหุตฺต : (ปุ.) ครู่หนึ่งนั้น, กาลครู่หนึ่งนั้น.
  8. มุหุตฺต : (อัพ. นิบาต) ในกาลครู่หนึ่ง, ฯลฯ.
  9. สุมุหุตฺต : (ปุ.) ครู่ดี, ขณะดี, ยามดี, สุนฺทร+มุหุตฺต.
  10. อจิร : (วิ.) ไม่นาน, ไม่ช้า, ไม่ยั่งยืน, ชั่วคราว, ชั่วคราวหนึ่ง, ชั่วครู่, พลัน. ส. อจิร.
  11. อนุปท : (นปุ.) บทน้อย, บทภายหลัง, บทตาม, อนุบท (บทลูกครู่บทรับของเพลง และกลอน).ส.อนุปท.
  12. อสามายิก : ค. ไม่ใช่ชั่วครู่, ไม่ใช่ชั่วขณะ
  13. ครหี : ค. ดู ครหก
  14. ครหก : ค. ผู้ให้ร้าย, ผู้ใส่โทษ, ผู้ติเตียน
  15. คิร : (ปุ.) ภูเขา. คิรฺ นิคฺคีรเณ, อ.
  16. คิริ : (ปุ.) ภูเขาชื่อ คิริ, ภูเขา คิริ, ภูเขา. วิ. คิรติ ปสวติ โอสธาทโยติ คิริ. คิรฺ นิคฺคีรเณ, อิ. เวสฯ วิ. คิรติ สทฺทํ กโรตีติ คิริ.
  17. ครหณ ครหน : (นปุ.) ความเกลียด, ฯลฯ, การติเตียน, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
  18. ครุ : (วิ.) ใหญ่, มาก, หนัก, สูง, สูงสุด, ให้ คร่ำคร่ายาก. ลง ก สกัด เป็น ครุก บ้าง.
  19. คุรุ : (วิ.) ใหญ่, หนัก, สูง, สูงสุด.
  20. โคร : (วิ.) ขาว, เผือก. วิ. คูยเตติ โคโร. คุ สทฺเท, โร.
  21. ปภงฺคุณ, - คุร : ค. แตกสลาย, ผุพัง, ย่อยยับ, เปื่อยเน่า, เปื่อยเปราะ
  22. ปาปครหี : ค. ผู้ติเตียนบาป, ผู้เห็นบาปเป็นสิ่งน่าติเตียน
  23. พหินคร : นป. นอกเมือง
  24. อริยครหี : ค. ผู้ติเตียนพระอริยะ
  25. คารยฺห : (วิ.) ต่ำช้า, เลว, เลวทราม, น่าเกลียด, น่าชัง, น่าติเตียน, อัน...พึงเกีลยด, อัน...พึง ติเตียน. วิ. ครหิตพฺโพติ คารโยฺห. รูปฯ ๕๔๐ วิ. อครยฺหิตฺถ ครหียติ ครหียิสฺสตีติ คารโยฺห คารยฺหา คารยฺหํ. ครหฺ กุจฺฉน นินฺทาสุ, โณฺย. แปลง คร เป็น คาร ลบ ณฺ แปร ย ไว้หน้า ห.
  26. กเมติ : ก. ปรารถนา, อยาก, ใคร่
  27. กาม : (วิ.) ใคร่, ยินดี, รัก รักใคร่, ชอบใจ, พอใจ, หวัง, ต้องการ, มุ่ง, อยากได้, ปรารถนา.
  28. คพฺพ : (ปุ.) ความหยิ่ง, ความจองหอง, ความไว้ตัว, ความถือตัว. วิ. คพฺเพติ น สํกุจตีติ คพฺโพ. คพฺพฺ มาเน, อ. ครติ อญฺเญ อเนน ปีเฬตีติ วา คพฺโพ. ครฺ เสจเน, โพ.
  29. คพฺภ : (ปุ.) ท้อง ชื่อส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่ลงไปจนถึงบริเวณต้นขา มี สะดืออยู่กลางมีกระเพาะและใส้อยู่ภายใน เรียกได้ทั้งของผู้หญิงและของผู้ชาย, ครรภ์ เรียกเฉพาะของผู้หญิง. คุ สทฺเท, อโภ, อุสฺส อตฺตํ, ทฺวิตฺตํ (แปลง อุ เป็น อ แปลง ภ เป็น พฺภ). ครฺ วา เสจเน, อโภ. แปลง รฺ เป็น พฺ หรือตั้ง คพฺภฺ ธารเณ, อ.
  30. คพฺภร : (นปุ.) ถ้ำ, ซอกเขา, คูหา. คพฺภฺ ธาร- เณ, อโร. ครฺ เสจเน วา, ภโร, รสฺส พตฺตํ.
  31. ครฬ : (นปุ.) พิษ (เช่นพิษงู) วิ. ครตีติ ครฬํ. ครฺ อทเน, อโฬ. คริติ ชีวนนฺติ วา ครฬํ. คิรฺ นิคิรเณ, อโฬ, อิสฺส อตฺตํ.
  32. ครุวาร : (ปุ.) วันครู, วันพฤหัสบดี. ส. วฺฤหสฺปติ. พระนารายณ์ วิ. ครํ วิสํ หนฺตีติ ครุโฬ. ครปุพฺโพ, หา จาเค, โณ, รการสฺส รุ, หสฺส ฬตฺตํ. ครํ ภารํ ลาตีติ ครุโฬ. ครุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, ลสฺส ฬตฺตํ. นกตระไน ก็แปล.
  33. คโฬจี : (อิต.) เถาเน่า, เถาหัวด้าน, เขาหัวด้วน, บอระเพ็ด, กระโพงโหม. คฬฺ รกฺขเณ, ครฺ เสจเน วา, โอโจ, อิตฺถิยํ. อี. ถ้าตั้ง ครฺ แปลง รฺ เป็น ฬฺ.
  34. คิมฺห คิมฺหาน คิมฺหนฺต คิมฺหนฺตอุตุ : (ปุ.) ฤดูร้อน, หน้าร้อน. วิ. คิรติปีฬยตีติ คิโมฺห. คิรฺ นิปฺปีฬเน, โม, รสฺส โห, วณฺณวิปริ- ยาโย. คจฺฉตีติ วา คิโมฺห. คมฺ คติยํ, อ, อสฺสิตฺตํ, มสฺส โห, นิคฺคหิตาคโม. คิมฺหาน ตั้ง คิรฺ ธาตุ มาน ปัจ. แปลง รฺ เป็น ห แล้ว เปลี่ยนอักษร.
  35. ติมิงฺคล : (ปุ.) ติมิงคละ ชื่อปลาใหญ่, ปลา ติมิงคละ. วิ. ติมิโน คโล ติมิงฺคโล. ติมํ คิลตีติ วา ติมิงฺคโล. ติมิปุพฺโพ , คิลฺ อทเน, อ, อิสฺสตฺตํ คิรฺ นิคิรเน, วา, รสฺส ลตฺตํ. ส. ติมฺคล.
  36. นิครณ นิคิรณ : (วิ.) คาย, ไหลออก, อาเจียน, รด, ราด, โปรย. นิปุพฺโพ, ครฺ วมนเสจเนสุ, ยุ. ศัพท์หลังแปลงเป็น อ เป็น อิ.
  37. ปาฏงฺกี : อิต. เก้าอี้, แคร่, วอ
  38. ปีฐ : นป. ตั่ง, ที่นั่ง, แคร่, ร้าน, ที่วางของขาย
  39. มญฺจ มญฺจก : (ปุ.) แท่น, แคร่, เตียง, ที่นอน. วิ. มญฺจติ ปุคฺคลํ ธาเรตีติ มญฺโจ มญฺจโก วา. มจิ ธารเณ, อ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  40. มหาสมย : (ปุ.) ครั้งใหญ่, คราวใหญ่, ครวาประชุมใหญ่, มหาสมัย.
  41. มุคฺคร : (นปุ.) ค้อน, ไม้ค้อน, ตะบอง. วิ. มุทํ คีรตีติ มุคฺคโร. มุทปุพฺโพ, คิรฺ นิคฺคิรเณ, อ. แปลง ท เป็น ค อิ เป็น อ. มุจฺ โมจเน วา, อโร. แปลง จฺ เป็น คฺ ซ้อน คฺ.
  42. อญฺชติ : ก. ๑. ฉิบหาย ๒. แจ้งชัด ๓. ทา, ไล้, หยอด ๔. ไป, รัก, ใคร่, รักใคร่ ๕. ดึงออก, เหยียดออก
  43. อิจฺฉก : ค. ใคร่, ปรารถนา, ต้องการ
  44. อิฏฺฐ : (วิ.) พอใจ, พึงใจ, น่าพึงใจ, ชอบใจ, ใคร่, สวย, งาม. ปรารถนา, ต้องการ, อิสุ อิจฺฉายํ, โต. แปลง ต เป็น ฏฺฐ ลบ สุ. ส. อิษฺฎ.
  45. อุคฺคาร : (ปุ.) การเรอ, การราก, การอาเจียน, การอ้วก (กิริยาที่สำรอกอาหารออกจาก ปาก). วิ. อุคฺคุณาติ อุคฺคมติ อุทฺธํคม วาต วูฬฺหวเสนาติ อุคฺคาโร. อุปุพฺโพ, คุ, อุคฺคเม, โณ. อถวา, คิรฺ นิคิรเณ, อ, อิสฺสา (แปลง อิ เป็น อา).
  46. [1-45]

(0.0182 sec)